การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการเสริมเซลล์ยีสต์และยีสต์เซลล์แตก เพื่อเป็นสารเสริมในอาหารไก่ไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตไข่ แผนการทดลองแบบสุ่มตลอด ใช้ไก่ไข่ลูกผสมทางการค้าจำนวน 150 ตัว อายุ 28 สัปดาห์ แบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว กลุ่มที่ 1 อาหารปกติ กลุ่มที่ 2 และ 3 เสริม เซลล์ยีสต์ 5% และ ยีสต์เซลล์แตก 2% ในอาหาร ระยะเวลาทดลอง 12 สัปดาห์ พบว่าปริมาณอาหารที่กิน อัตราการไข่ น้ำหนักตัวที่เปลี่ยนแปลง อัตราการรอดชีวิต ปริมาณอาหารที่กินต่อผลผลิตไข่ 1 โหล ไข่ขนาดกลางและไข่ขนาดเล็ก แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ประสิทธิภาพการใช้อาหารมีแนวโน้มจะมีความแตกต่างกันทางสถิติ (P=0.10) แต่น้ำหนักไข่ มวลไข่ และไข่ขนาดใหญ่ในกลุ่มที่ได้รับเซลล์ยีสต์ สูงกว่ากลุ่มควบคุมและกลุ่มที่ได้รับยีสต์เซลล์แตก แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) ดังนั้นการเสริมเซลล์ยีสต์ที่ระดับ 5% ในอาหารไก่ไข่จะช่วยเพิ่มน้ำหนักไข่ มวลไข่ และจำนวนไข่ขนาดใหญ่มากขึ้น กนกทิพย์ ปัญญาไชย และ มงคล ยะไชย. 2557. บทบาทของผนังเซลล์ยีสต์ในการเป็นสารเสริม อาหารสัตว์. วารสารสัตวศาสตร์แห่งประเทศไทย. 1(2): 1-10. กานต์ชนา พูนสุข. 2558. การใช้โปรไบโอติกและประโยชน์ของการใช้โปรไบโอติกในปศุสัตว์. สมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ. แหล่งที่มา: https://www.swinethailand.com. 10 สิงหาคม 2561. จรัญ จันทลักขณา. 2557. สถิติวิธีวิเคราะห์และวางแผนงานวิจัย. พิมพ์ครั้งที่5. ไทยวัฒนา พานิช, กรุงเทพ ฯ ชุมพล สุวรมงคล. 2538. การศึกษาการตอบสนองของไก่ไข่ต่อระดับพลังงานและโปรตีนในสภาพ อุณหภูมิสภาพแวดล้อมที่สูง. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ไชยา อุ้ยสูงเนิน. 2532. การเลี้ยงไก่ไข่. พิมพ์ครั้งที่ 4. สมาคมการเลี้ยงไก่ไข่. ถาวร ฉิมเลี้ยง. 2542. โภชนศาสตร์สัตว์. คณะเกษตรและอุสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพ พรรณี, จันทบุรี. ธัญหทัย สุขสมพืช, มณฑิชา พุทซาคำ, และ วรินธร มณีรัตน์. 2560. ผลการใช้กากมันสำปะหลัง หมักยีสต์ต่อสมรรถภาพการผลิตในไก่ไทยละโว้, น. 377-384. ใน การประชุมทางวิชาการ ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 55. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. ประภากร ธาราฉาย. 2560. อาหารและการให้อาหารสัตว์ปีก. ผลิตสัตว์ปีก. แหล่งที่มา: http://www.as.mju.ac.th/E-Book/t_prapakorn, 17 มีนาคม 2562. พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงษ์ และนิธิยา รัตนาปนนท์. ม.ป.ป. Egg / ไข่. Food Network Solution. แหล่งที่มา: http://www.foodnetworksolution.com, 25 มิถุนายน 2561. เพิ่มศักดิ์ ศิริวรรณ. 2538. แนวทางพัฒนาการเลี้ยงไก่พื้นเมือง ในระบบการค้า. สัตว์เศรษฐกิจ. 12(38): 55-61. พัชรี ชนะชัย. 2554. ผลของการเสริมพรีไบโอติก (Aspergillus meal) ในอาหารต่อสมรรถภาพ การผลิต คุณภาพไข่ และจุลินทรีย์ในทางเดินอาหารของไก่ไข่. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ภาวิณี แก้วกรูด. 2557. ผลของยีสต์หมักต่อการเจริญเติบโตและการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันแบบ ไม่จำเพาะของปลานิล. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. รพีพร คำรัตน์. 2542. การดูดซับโลหะหนักโดยใช้กากยีสต์จากโรงงานเบียร์. วิทยานิพนธ์ ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยมหิดล. ศรีสกุล วรจันทรา และ รณชัย สิทธิไกรพงษ์. 2539. โภชนะศาสตร์สัตว์. ภาควิชาเทคโนโลยีการ ผลิตสัตว์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง, กรุงเทพมหานคร. สมร พรชื่นวงศ์, โชคชัย วนภู, จิรวัฒน์ ยงสวัสดิกุล, กาญจนา พยุหะ, นภดล พิฬารัตน์ และ กุณฑิกา เวชกลาง. 2559. รายงานการวิจัยการใช้กากยีสต์แห้ง (dried brewer’s yeast) และ กากสาโท (rice wine residual) เป็นแหล่งโปรตีนเพื่อทดแทนการใช้ปลาป่นในอาหารปลาสวายโมง a(Thai Panda). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. นครราชสีมา. สาวิตรี ลิ่มทอง. 2549. ยีสต์ : ความหลากหลายทางชีวภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 1. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. สินีนาฏ พลโยราช และ เมธา วรรณพัฒน์. 2558. ศักยภาพในการใช้ยีสต์เป็นแหล่งโปรไบโอติกส์ ในสัตว์เคี้ยวเอื้อง. วารสารแก่นเกษตร 43(1): 191-206. สุชาติ สงวนพันธ์. 2547. การเลี้ยงดูไก่ไข่. เอกสารวิชาการ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. สุวรรณ เกษตรสุวรรณ. 2529. ไข่และเนื้อไก่. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. สุวรรณี สิมะกรพินธ์. 2542. การเลี้ยงไก่ไข่. สถาบันราชภัฏธนบุรี, กรุงเทพฯ. สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2549. ยีสต์…คุณประโยชน์ในอุตสาหกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 1. บริษัท สเปเชียลตี้ไบโอเทค, กรุงเทพฯ. สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ. 2553. มาตรฐานสินค้าเกษตร. กระทรวง เกษตรและสหกรณ์. แหล่งที่มา: www.acfs.go.th, 9 กันยายน 2561. อานนท์ อินทพัฒน์. 2542. การเลี้ยงไก่ไข่. อักษรสยามการพิมพ์. กรุงเทพมหานคร. อารีรัตน์ โพธิ์งาม. 2553. ผลของการเสริมกากยีสต์ในอาหารต่อการเจริญเติบโต ค่าโลหิตวิทยาและการตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันในปลานิลแดง. สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ และประมง. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง. อาวุธ ตันโช. 2538. การผลิตสัตว์ปีก. ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ. อภิเดช เหล็มเส็ม. ม.ป.ป. การให้โปรตีนแบบจำกัดเพื่อลดการขับถ่ายไนโตรเจนในไก่ไข่. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย. แหล่งที่มา: http://agr.rmutsv.ac.th/agr/sites/default/files/banner/download- file/Student, 17 มีนาคม 2562. อภิวัฒน์ ยาจันทึก, กิตติศักดิ์ น้ำเพชร, อรุณี ดัชถุยาวัตร และ ศศิวภรณ์ คิดสุข. 2560. Feed Supplement and Feed Additive. แหล่งที่มา: http://apiwatnew.blogspot.com, 20 มีนาคม 2562. อนุวัติ อุปนันชัย, วรณยู ขุนเจริญ, สุพัตร์ ศรีพัฒน์ และพิสมัย สมสืบ. 2551. การใช้ยีสต์เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพของอาหารกบนา, น. 157-172. ใน รายงานการประชุมวิชาการประมง ครั้งที่ 12. สำนักวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด, กรุงเทพฯ. Ambrosen, T., and V.E. Petersen. 1997. The influence of protein level in the diet on cannibalism and quality of plumage of layers. Poultry Sci. 76: 559-563. Association official Analytical Chemists (AOAC). 1995. Official Methods Analysis. 14thed. Washington D.c. Association of official Analytical Chemists. Bhattacharjee, J.E. 1970. Microorganism as potential sources of food. Adv. In AppI. 13: 139-159. Bolacli. M and K. Irak. 2017. Effect of dietary yeast autolysate on performance, slaughter, and carcass characteristics, as well as blood parameters, in quail of both genders. South African Journal of Animal Sci. 47: 460-470. Chen Y.C.,G. C. Nakthon and T.C. Chen. 2005. Improvement of laying hen performance by dietary prebiotic chicory oligofructose and inulin. J. Poult. Sci. 4: 103-108. Cristina G.R. and I.M. Pop. n.d. Imporvement of laying hen performances by dietary Mannanoligosaccharides supplementation. Seris Zoo Tehnie. vol. 52. Delaney, R., A.M.R. Kennedy and B.D. Walley. 1975. Composition of Saccharomyces fragilis biomass grown on lactose permeat. J. Sci. Fd. Agric. 26: 1177-1186. Farrell, D. J., D. F. Mannion and R. A. Perez – Maldonado. 1999. A comparison of total and digestible amino acids in diets for broilers and layers. Animal feed Science and Technology. 82: 131-142. Frey, c.n. 1930. History and development of the yeast. Ind. Eng. Chem. 22: 1154-1162. Grimes, J.l., D.V. Maurice, S. Lightsey and J.G. Lopez. 1997. The effect of dietary Fermata on layer performance. J. Appl. Poult. 6: 366-403. Harms, R.H. and R.D. Miles. 1998. Reseach note: Influence of Fermacto® on the performance of laying hens when fed with different levels os methionine. Poult. Sci. 67: 842-844. Harrison, J.S. 1968. Yeast as a source of biochemical process. Biochem. 3(8): 59-62. Mokslai, Z.U. 2006. Influence of a prebiotic feed additive on some biochemical indices of blood and intestinal microbiota of broiler chickens. J. Nutr. 4: 57-62. Peppler, H.J. 1968. Amino acid composition of yeast grown on different spent sulfite liquors. J. Agric. Fd. Chem. 13: 34-36. Querol, A. and G. Fleet. 2006. Yeast in Food and Beverages. In The Yeast Handbook, Volume 2. Springer-Verlag Berlin Heidelberg, Germany. Rose, A.S. and J.S. Harrison. 1971. The Yeast Volume 2. Academic Press Inc., New York. 571p. Rozenbiom, Md, E. Zilberman and G. Gvaryahu. 1998. New monochromatic light source for laying hen. Poult. Sci. 77: 1695-1698. Siam Agri Supply Co., Ltd. 2560. การใช้โปรไบโอติกในอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์ปีก. Siamagrisupply. แหล่งที่มา: https://www.siamagrisupply.com, 10 สิงหาคม 2561. Singh, K., P.N. Agarwal and W.H. Peterson. 1948. The influence of aeration and agitation on the yield, protein and vitamin content of food yeasts. Arch. Biochem. 18: 181-193. Suxu He, Z., L. Yuchun, S. Pengjun, Y. Bin, R. Einar and Y. Ilkyu. 2009. Effects of dietary Saccharomyces cerevisiae fermentation product (DVAQUA®) on growth performance, intestinal autochthonous bacterial community and non-specific immunity of hybrid tilapia (Oreochromis niloticus ♀ ×O. aureus ♂) cultured in cages. Aquaculture. 294: 99-107. Tomasik, P.J. and P. Tomasik 2003. Probiotics and prebiotics. Cereal Chem. 80: 113-117. Waldroup, P.W., D.E. Greene, L.W. Luther and B.D. Jones. 1972. Response of turkey breeder hens to Vigofac and Fermacto supplementation. Poult. Sci. 51: 510-513. Yang, P., J. C. Lorimor, and H. Xin. 2000. Nitrogen losses from laying hen manure in commercial high-rise layer facilities. Trans. ASAE. 43: 1771–1780. |