- ชื่อเรื่อง : ผลของ TDZ และ NAA ต่อการเจริญเติบโตของว่านน้าทองในหลอดทดลอง
- title : EFFECTS OF TDZ AND IAA ON LUDISIO DISCOLOR GROWTH IN VITRO
- ผู้แต่ง : นางสาวสุภาวัลย์ เพ็งสวัสดิ์
อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ประธานหลักสูตร : อาจารย์ ดร.ราชาวดี ยอดเศรณี ปีการศึกษา : 2562 - บทคัดย่อ :
การศึกษาสูตรอาหารสังเคราะห์ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตทางด้านล้าต้นของกล้วยไม้ ว่านลายน้าทอง โดยน้าชิ นส่วนข้อที่ 2-3 มาเพาะเลี ยงบนอาหารสูตร MS เติม TDZ ที่ระดับเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1.00 มิลลิกรัมต่อลิตร เพาะเลี ยงภายใต้แสง 1,000 ลักซ์ ที่อุณหภูมิ 26 ±2 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า ในทุกสูตรอาหารมีอัตราการรอดชีวิตมากกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ และสูตร MS ที่ไม่เติม TDZ ให้ความสูงมากที่สุด 2.67 เซนติเมตร สูตร MS ที่เติม TDZ ความเข้มข้น 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนข้อมากที่สุด 4.25 ข้อต่อต้น และสูตร MS ที่เติม TDZ ความเข้มข้น 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนใบมากที่สุด 3.66 ใบต่อต้น และให้จ้านวนรากมากที่สุด 2.84 รากต่อต้น ตามล้าดับ ส้าหรับการเจริญเติบโตทางด้านราก เมื่อน้าข้อที่ 2-3 มาเพาะเลี ยงบนอาหารสูตร MS เติม IAA ที่ระดับเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า ในทุกสูตรอาหารมีอัตราการรอดชีวิตมากกว่า 70 เปอร์เซ็นต์ และสูตร MS ที่เติม IAA ความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ความสูงมากที่สุด 4.74 เซนติเมตร สูตร MS ที่เติม IAA ความเข้มข้น 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนข้อมากที่สุด 4.16 ข้อต่อต้น และให้จ้านวนใบมากที่สุด 3.41 ใบต่อต้น และสูตร MS ที่เติม IAA ความเข้มข้น 0.75 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนรากมากที่สุด 1.77 รากต่อต้น ตามล้าดับ
- เอกสารอ้างอิง :
กนกวรรณ ถนอมจิตร. 2541. การขยายพันธุ์กล้วยไม้ว่านน้าทอง (Ludisia discolor (Ker-Gawl.)A. Rich.) ในสภาพปลอดเชื อ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 91 หน้า.
กรรณิกา โพธิ์สามต้น . 2555. ผลของ BA ต่อการเจริญเติบโตของว่านน้าทองในสภาพปลอดเชื อ Effect of BA on In vitro Growth in Ludisia discolor (ker.-Gawl.). สาขาวิชาพืชศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ, พระนครศรีอยุธยา. 28 หน้า.
ครรชิต ธรรมศิริ. 2547. เทคโนโลยีการผลิตกล้วยไม้. อมรินทร์พริ นติ งแอนด์พับลิชชิ่ง, กรุงเทพฯ. 230 น.
วีระชัย ณ นคร. 2543. สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ เล่ม 6 กล้วยไม้ไทย. โอ.เอส. พริ นติ ง เฮาส์, กรุงเทพฯ.
ศิริลักษณ์ เจริญดี. 2544. การอนุรักษ์และขยายพันธุ์กล้วยไม้เอื องเงินหลวงโดยวิธีเพาะเลี ยงเนื อเยื่อ. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
สลิล สิทธิสัจธรรม. 2549. กล้วยไม้ป่าเมืองไทย. ส้านักพิมพ์บ้านและสวน, กรุงเทพฯ. 495 น.
สุชาดา พัฒนกนก. 2547. การเพาะเลี ยงกล้วยไม้. เอกสารค้าสอนวิชาการเพาะเลี ยงกล้วยไม้. คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, ปทุมธานี. .อัญชลี จาละ. 2553. การขยายพันธุ์กล้วยไม้พื นเมืองและหายาก “นางอั วสาคริก” โดยการเพาะ เลี ยงเนื อเยื่อ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 18 (1): 28-39.
อามีนา เส็นแอ, โสระยา ร่วมรังษี และ ณัฐา โพธาภรณ. 2557. การเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของกล้วยไม้ดินเอื องตีนกบในสภาพธรรมชาติ และการปลูกเลี ยง. วารสารแก่นเกษตร. 42 (3): 490-494.
นิรนาม. 2554. ถิ่นอาศัยว่านน้าทอง. แหล่งที่มา: https://www.bloggang.com, 15 กุมภาพันธ์ 2562.
เพื่อเกษตรไทย. 2558. ว่านน้าทอง. ไม้ดอกไม้ประดับ. แหล่งที่มา: https://puechkaset.com, 7 กุมภาพันธ์ 2562.
OrchidOK. 2557. สกุลว่านน้าทอง. กล้วยไม้เอื อง. แหล่งที่มา: https://orchidok.blogspot.com, 7 กุมภาพันธ์ 2562.
|