จากการเปรียบเทียบคุณค่าโภชนาการอาหารเสริมสำหรับกระต่ายที่ขึ้นรูปโดยใช้หญ้าแพงโกล่าแห้งผสมกับกล้วยน้ำว้าสุกกับกล้วยหอมสุก โดยแบ่งการทดลองออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้ำ โดยใช้หญ้าแพงโกล่าแห้งบดผสมกับกล้วยน้ำว้าสุก และหญ้าแพงโกล่าแห้งบดผสมกับกล้วยหอมสุก รวมทั้งหมด 8 หน่วย โดยการนำหญ้าแพงโกล่าแห้งมาบดให้ละเอียดผสมกับกล้วยน้ำว้าสุก และหญ้าแพงโกล่าแห้งผสมกับกล้วยหอมสุก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบ คุณค่าโภชนาการที่เหมาะสม ในการทำอาหารเสริมสำหรับกระต่าย จากการศึกษาพบว่า การทดลองทั้ง 2 กลุ่ม พบว่าสูตรที่ 1 ความชื้น 87.18, โปรตีน 5.34, ไขมัน 0.30, เยื่อใย 20.21 และสูตรที่ 2 ความชื้น 89.06, โปรตีน 6.92, ไขมัน 0.37, เยื่อใย 25.77 โดยอาหารเสริมทั้ง 2 ชนิด มีปริมาณความชื้น ไขมัน และเยื่อใย ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ( p ≥ 0.05 ) แต่สูตรที่ 1 หญ้าแพงโกล่ากล้วยน้ำว้า มีปริมาณของโปรตีนน้อยกว่าสูตรที่ 2 หญ้าแพงโกล่ากล้วยหอม ซึ่งมีปริมาณของโปรตีนที่ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ( p ≤ 0.05 ) กาญจนา อนุพันธ์. (N.D). หญ้าแพงโกล่า. สืบค้นจาก https://www3.rdi.ku.ac.th. 1 พฤษภาคม 2562 จีระศกัดิ์ ชอบแต่งวรรณา อ่างทอง ณทุนาถ โคตรพรหม สมุน โพธิจนัทร์ และ รําไพร นามสีลี. 2555. ผลของคุณภาพหญ้าแพงโกล่าต่อปริมาณการกินได้ การย่อยได้ และการผลิตก๊าซมีเทนในโคเนื้อแก่นเกษตร. 40: 166-169. เต็ม สมิตินันทน์ ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช, พ.ศ. 2549 สุวรรณ อ่อนวิมล. มปป. การเลี้ยงกระต่าย. (1). โครงการหนังสือเกษตรชุมชน, บางเขน บุษบา จันใด. 2553. หญ้าแพงโกล่า. รักบ้านเกิด. สืบค้นจาก https://www.rakbankerd.com. 8 พฤษภาคม 2562 พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ และคณะ. ทรัพยากรพืชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 2: ไม้ผลและไม้ผลเคี้ยวมัน. กทม. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย. 2544 หน้า 319 ธวัชชัย (2542)พันธุ์ไม้ผลการค้าในประเทศไทย : คู่มือเลือกพันธุ์สำหรับผู้ปลูก สุวรรณ อ่อนวิมล. มปป.การเลี้ยงกระต่าย. (1). โครงการหนังสือเกษตรชุมชน,บางเขน โสภณ ชินเวโรจน์(2559). คุกกี้กระต่าย. สืบค้นจาก http://nutrition.dld.go.th. 1 พฤษภาคม 2562 Archimède, H., M. Boval, G. Alexandre, A. Xandé, G. Aumont and C. Poncet. 2000. Effect of regrowth age on intake and digestion of Digitaria decumbens consumed by Black-belly sheep. Anim. Feed Sci. Technol. 87: 153-162. Boval, M., H. Archimède, P. Cruz and M. Duru. 2007. Intake and digestibility in heifers grazing a Dichanthium spp. dominated pasture, at 14 and 28 days of regrowth. Anim. Feed Sci. Technol. 134: 18-31. Chobtang, J., A. Boonruangkao, S. Suankool and A. Isuwan. 2010. Nutritive values of Whip grass (Hemarthria compressa) at different cutting intervals consumed by Thai indigenous cattle. Silpakorn U. Sci. Technol. J. 4: 21-27. Chobtang, J., S. Prajakboonjetsada, S. Watananawin and A. Isuwan. 2008. Change in dry matter and nutritive composition of Brachiaria humidicola grown in Ban Thon soil series. Maejo Int. J. Sci. Tchnol. 2: 551-558. Hintz, R. W., R. G. Koegel, T. J. Kraus and D. R. Mertens. 1999. Mechanical maceration of alfalfa. J. Anim. Sci. 77: 187-193. Kamalak, A., O. Canbolat, Y. Gurbuz, A. Erol and O. Ozay. 2005. Effect of maturity stage on chemical composition, in vitro and in situ dry matter degradation of tumbleweed hay (Gundelia tournefortii L.). Small Rumin. Res. 58: 149-156. Ogden, R. K., W. K. Coblentz, K. P. Coffey, J. E. Turner, D. A. Scarbrough, J. A. Jennings and M. D. Richardson. 2005. Ruminal in situ disappearance kinetics of dry matter and fiber in growing steers for common crabgrass forages sampled on seven dates in northern Arkansas. J. Anim. Sci. 83: 1142-1152. Ogden, R. K., W. K. Coblentz, K. P. Coffey, J. E. Turner, D. A. Scarbrough, J. A. Jennings and M. D. Richardson. 2006. Ruminal in situ disappearance kinetics of nitrogen and neutral detergent insoluble nitrogen from common crabgrass forages sampled on seven dates in northern Arkansas. J. Anim. Sci. 84: 669-677. |