- ชื่อเรื่อง : อิทธิพลของ BA ต่อการชักนาการเกิดต้นของปทุมมาจากหัวเสื่อมสภาพ
- title : INFLUENCE OF BA ON INDUCING SHOOT OF CURCUMA ALISMATIFOLIA FROM DETERIORATED RHIZOMES
- ผู้แต่ง : นายชาติตการ วงค์จันน้อย
อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ประธานหลักสูตร : อาจารย์ ดร.ราชาวดี ยอดเศรณี ปีการศึกษา : 2564 - บทคัดย่อ :
การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความเข้มข้นของสารละลาย BA ที่มีความเหมาะสมต่อการงอกของหัวปทุมมาเสื่อมคุณภาพ ประกอบด้วย 5 ทรีตเมนท์ ทรีตเมนท์ละ 20 ซ้า ดังนี้ 0, 150, 300, 350 และ 400 มิลลิกรัมต่อลิตร บันทึกข้อมูลได้แก่ ผลการเจริญเติบโตของต้นปทุมมา ขนาดของหัวปทุมมาแบบไม่ถอดดอก และแบบถอดดอก จากการทดลองเมื่อนาหัวปทุมมาแช่สาร BA ที่ระดับความเข้มข้น 0, 150, 300, 350 และ 400 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่าต้นปทุมมาที่ได้รับสารของ BA ความเข้มข้น 150 มิลลิกรัมต่อลิตร มีการเจริญเติบโตที่เหมาะสม ดังนี้ ด้านความสูงต้นเฉลี่ย 45.70 เซนติเมตร ขนาดลาต้นเฉลี่ย 4.52 เซนติเมตร ความกว้างใบเฉลี่ย 8.84 เซนติเมตร ความยาวใบเฉลี่ย 21.60 เซนติเมตร ความสูงดอกเฉลี่ย 48.78 เซนติเมตร ความกว้างดอกเฉลี่ย 2.56 เซนติเมตร จานวนต้นต่อกอเฉลี่ย 4.80 ต้น และจากการทดลองการเก็บหัวพันธุ์ปทุมมาจากวิธีการถอดดอก และไม่ถอดดอกทิ้ง พบว่าการไม่ถอดดอกปทุมมาในการเก็บหัวพันธุ์ปทุมมาให้ผลดีในความเข้มข้น 400 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ขนาดหัวเฉลี่ย 19.50 มิลลิเมตร ให้จานวนหัวเฉลี่ย 1.50 หัว ให้จานวนตุ้มสะสมอาหารเฉลี่ย 3.15 ตุ้ม
- เอกสารอ้างอิง :
กรณ์ กรภัทร์ชัยกุล, ศักดิ์ชัย กรรมารางกรู และจีรนันท์ กล่อมนรา แก้วรักษา. 2560. การเกิดต้นจาก การเพาะเลี้ยงแคลลัสของขมิ้นชันในหลอดทดลอง. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา. ปีที่ 22 (1) 1-13.
คมกิต สีสมาน. 2552. ปทุมมาไม้ดอกล้่าค่า. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ศูนย์รังสิต ปทุมธานี แหล่งที่มา : www.wchakarn.com. 15 กุมภาพันธ์ 2561.
เฉลิมศรี นนทสวัสดิ์. 2557. พันธุ์พืชปทุมมา. แหล่งที่มา : http://portal.rae.mju.ac.th. 15 กุมภาพันธ์ 2561.
ชัยภูมิ สุขส่าราญ. 2559. การศึกษาวัสดุปลูกที่เหมาะสมต่อการผลิตปทุมมาพันธุ์. สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรเกษตรเพื่อการท่องเที่ยว คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต. โครงการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ “ราชภัฏวิจัยครั้งที่ 4”(กลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) หน้า 1011.
เดชา ศิริภัทร. ม.ป.ป. 2550. ปทุมมาไม้ตัดดอกพันธุ์ไทย. แหล่งที่มา : https://www.doctor.or.th. 21 กุมภาพันธ์ 2561.
ทิราภรณเขื่อนแกว และโสระยา รวมรังษี. 2549. ผลของกรดจิบเบอเรลลิกตอการเจริญเติบโต ของปทุมมา. วารสารเกษตร 22(3): 195–203.
นิรนาม. 2554. อาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ. แหล่งที่มา : vittayasat.blogspot.com. 20 กุมภาพันธ์ 2561.
นิรนาม. 2561. ปทุมมาและกระเจียว. แหล่งที่มา : http://www.ptcn.ac.th. 15 กุมภาพันธ์ 2561.
เปรมปรี ณ สงขลา. 2546. รายงานการจัดงานอะเมซิ่งไม้ดอกเมืองร้อน. กรมส่งเสริมการเกษตร. กรุงเทพฯ. 74 หน้า.
ปริญา สุคนธรัตน์, ทัศนี ขาวเนียม และสมปอง เตชะโต. 2559. การขยายพันธุ์ขมิ้นชันโดยวิธีการ เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อจากหน่องอกนอกหลอดทดลอง. วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์ ปีที่ 3 (2): 1-5.
พีรเดช ทองอ่าไพ. 2532. ประเภทของสารควบคุมการเจริญเติบโต. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก่าแพงเสน. แหล่งที่มา : http://www.sesa10.go.th/e-learning/digital_library/agri/hormone/hormone2.htm. 15 กุมภาพันธ์ 2561.
มูลนิธิโครงการหลวงและสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์กรมหาชน). 2549. ไม้ตัดดอกและไม้ตัด ใบไม้ตัดดอกตระกูลขิง (Zingibevaceae) ปทุมมาและกระเจียว แหล่งที่มา :https://mis.hrdi.or.th. 18 กุมภาพันธ์ 2561.
วฤตดา สังขทัต ณ อยุธยา. 2547. วิธีการปลูกปทุมมาเพื่อการส่งออกของเกษตรกรในจังหวัดเชียงใหม่. สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตร คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
สมชาย สุคนธสิงห์. 2555. การปลูกปทุมมาและกระเจียว. กรมส่งเสริมการเกษตร แหล่งที่มา : http://oknation.nation.tv/blog/marua/. đunuia. 15 กุมภาพันธ์ 2561.
โสภิตา ตาปน และโสระยา รวมรังษี. 2549. ผลของธาตุอาหารพืชตอการเจริญเติบโตของปทุมมา. วารสารเกษตร 22(2): 95–103.
สุธนา เกตุมาโร. 2555. การสร้างพืชโพลีพลอยด์เพื่อแก้ลักษณะความเป็นหมั่นในปทุมมาลูกผสม. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ.
อัญชลี จาละ. 2557. ผลของสารพาโคลบิวทราโซลร่วมกับ BA ในการขยายพันธุ์ปทุมมา (Curcums sp.) โดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ. วารสารThai Journal of Science and Technology. ปีที่ 3(3): 16-22.
อภิชาติ ชิดบุรี ฉันทนา สุวรรณธาดา วีณัน บัณฑิตยทากูจิโอยามาและโสระยา รวมรังษี. 2550. ผลของความยาววันต่อการเติบโตการสังเคราะห์แสงและการสะสมอาหารในปทุมมา. วารสารเกษตร 23(2): 105–113.
Allkaset. มปป. ลักษณะพฤกษศาสตร์ปทุม มา. แหล่งที่มา : https://www.allkaset.com/contents/ลักษณะพฤกษศาสตร์ของปทุมมา-148.php. 15 กุมภาพันธ์ 2561.
|