- ชื่อเรื่อง : ศึกษาการทาลายการพักตัวของเมล็ดพันธุ์บวบงู
- title : STUDY OF BREAKING SEED DORMNCY ON SNAKE GOURD SEED (Trichosanthes cucumerina L. var. anguina )
- ผู้แต่ง : นางสาวกัลยาณี คงเมือง
อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.พิษณุ แก้วตะพาน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ประธานหลักสูตร : อาจารย์ ดร.ราชาวดี ยอดเศรณี ปีการศึกษา : 2562 - บทคัดย่อ :
วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษาการทาลายการพักตัวของเมล็ดพันธุ์บวบงู โดยวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) จานวน 4 ซ้า มีวิธีทาลายการพักตัว 4 วิธี ได้แก่ 1) การตัดปลายเมล็ด, 2) การขัดเมล็ดด้วยกระดาษทราย, 3) แช่เมล็ดในน้าร้อน 1 นาที และ 4) แช่เมล็ดในกรดไนตริก 1 นาที แล้วจึงนาไปเพาะในวัสดุเพาะเมล็ด จากการทดลองพบว่า เปอร์เซ็นต์ความงอกของการตัดปลายเมล็ดและการขัดเมล็ดด้วยกระดาษทราย มีเปอร์เซ็นต์ความงอกเท่ากับ 48 และ 28 เปอร์เซ็นต์ และความเร็วในการงอก พบว่า เมล็ดที่ทาลายการพักตัวด้วยการตัดปลายเมล็ดและการขัดเมล็ดด้วยกระดาษทรายมีความเร็วในการงอกเท่ากับ 1.24 และ 0.91 แต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติ เมื่อพิจารณาความสูงของต้นกล้าบวบงู พบว่า การขัดเมล็ดด้วยกระดาษทรายมีความสูงเฉลี่ยเท่ากับ 20. 4 เซนติเมตร รองลงมา การตัดปลายเมล็ดมีความสูงเฉลี่ยเท่ากับ 19.29 เซนติเมตร สาหรับอีก 2 วิธี เมล็ดบวบงูไม่สามารถงอกได้ โดยมีเปอร์เซ็นต์ความงอกเท่ากับศูนย์
- เอกสารอ้างอิง :
จวงจันทร์ ดวงพัตรำ. 2529. เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์. พิมพ์ครั งที่ 2. กลุ่มหนังสือเกษตร, กรุงเทพฯ.
ซิติ ศรีตนทิพย์, สันติ ช่ำงเจรจำ, สัญชัย พันธโชติ, ปริญญำวดี ศรีตนทิพย์ และ ปรียำพร วิกำหะ.
2559. ผลของวิธีกลและสำรเคมีต่อกำรงอกของเมล็ดมะแขว่น. วำรสำรพืชศำสตร์
สงขลำนครินทร์ 3 (1): 9-12.
ไซนีย๊ะ สะมำลำ, กฤษฎำ หีมเขียว, ตรีชฎำ แสงสุวรรณ, วันวิสำ เกิดชู และ ปำรวี จั งโล่ง. 2556.
ผลของวิธีกลและควำมร้อนต่อกำรงอกของเมล็ดฟักข้ำว. ใน กำรประชุมวิชำกำรระดับชำติ
รำชภัฎสุรำษฎร์ธำนีวิจัย ครั้งที่ 9. มหำวิทยำลัยรำชภัฎสุรำษฎร์ธำนี, สุรำษฎร์ธำนี.
ณกัญญำ พลเสน, ทรงศิลป์ พจน์ชนะชัย, อภิรดี อุทัยรัตนกิจ และ พนิดำ บุญฤทธิ์ธงไชย. 2553.
กำรปรับปรุงกำรงอกเมล็ดพันธุ์แฟงที่พักตัวด้วยวิธี scarification. วำรสำรวิทยำศำสตร์
เกษตร 41 (3/1) (พิเศษ): 549-552.
เทคโนโลยีชำวบ้ำน. 2562. บวบงู ปลูกง่ำย ขำยคล่อง พืชทำเงิน ตลำดต้องกำรสูง. แหล่งที่มำ:
https://www.technologychaoban.com/agricultural-technology/article_92425,
15 กุมภำพันธ์ 2562.
นิดดำ หงส์วิวัฒน์, ทวีทอง หงส์วิวัฒน์ และ สุภำพรรณ เยี่ยมชัยภูมิ. 2548. ผัก ๓๓๓ ชนิด
คุณค่ำอำหำรและกำรกิน. พิมพ์ครั งที่ 1. สำนักพิมพ์แสงแดด, กรุงเทพฯ.
ปรำณี แสนวงค์. 2552. กำรพัฒนำของเมล็ดพันธุ์และกำรทำลำยกำรพักตัวของเมล็ดพันธุ์บวบ
หอม. วิทยำนิพนธ์ปริญญำโท, มหำวิทยำลัยอุบลรำชธำนี.
พิจิตรำ แก้วสอน และ ปริยำนุช จุลกะ. 2558. วิธีทำลำยกำรพักตัวของเมล็ดพันธุ์ชะมวง.
วำรสำรวิทยำศำสตร์เกษตร 46 (3) : 489-492.
พิษณุ แก้วตะพำน. 2561. วิธีกำรทำลำยกำรพักตัวในเมล็ดซีรูเลียม. วำรสำรพืชศำสตร์
สงขลำนครินทร์ 5 (2): 38-41.
พัชรินทร์ อินทร์ช่วย, พรวดี ภักดีไพบูรย์, พิจิตรำ แก้วสอน, ปริยำนุช จุลกะ และ วันชัย
จันทร์ประเสริฐ. 2555. ผลของกำรใช้กรดซัลฟิวริก นำร้อน และควำมเย็นต่อควำมงอกของ
เมล็ดพันธุ์ชมจันทร์ (Ipomoea alba L.). วำรสำรวิทยำศำสตร์เกษตร 43 (2): 653-656.
ภัคศจี ศรีสำรำญ. 2552. กำรทำลำยกำรพักตัวของเมล็ดงูโดยกำรใช้สำร GA3 KNO3 และกำร
ใช้ควำมร้อน. ปัญหำพิเศษปริญญำตรี, มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์
มณฑล แสนจิตตธัม, รวี เสริฐภักดี และ เกรียงศักดิ์ ไทยพงษ์. 2550. กำรทำลำยกำรพักตัวและกำร
ทำนำยกำรงอกของเมล็ดองุ่น. วำรสำรวิทยำศำสตร์เกษตร 38 (5): 467-474.
มนทนำ รุจิระศักดิ์. 2536. วิทยำกำรเมล็ดพันธุ์พืชไร่. ภำควิชำพืชศำสตร์. คณะเกษตรศำสตร์
นครศรีธรรมรำช, สถำบันเทคโนโลยีรำชมงคล.
วัชรพล ประทุมทอง, พิจิตรำ แก้วสอน และ ทัศไนย จำรุวัฒนพันธ์. 2561. ใน กำรประชุมทำง
วิชำกำร ครั้งที่ 56. มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์, กรุงเทพฯ.
วันชัย จันทร์ประเสริฐ. 2553. สรีรวิทยำเมล็ดพันธุ์ ปรับปรุงใหม่ พ.ศ. 2553. ภำควิชำพืชไร่นำ
คณะเกษตร มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์, กรุงเทพฯ.
วัลลภ สันติประชำ. 2540. เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์. พิมพ์ครั งที่ 3. ภำควิชำพืชศำสตร์.
คณะทรัพยำกรธรรมชำติ. มหำวิทยำลัยสงขลำนครินทร์, สงขลำ.
ศจี เชำว์ดำริห์กุล. 2556. กำรทำลำยกำรพักตัวของเมล็ดพันธุ์บวบหอมโดยกำรขัดเปลือกเมล็ด
และควำมร้อนแห้ง. วิทยำนิพนธ์ปริญญำโท, มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์.
ศรีมกุฎ วิชชวุต. 2527. กำรพัฒนำและกำรสุกแก่ของเมล็ดบวบเหลี่ยม. วิทยำนิพนธ์ปริญญำโท,
มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์.
สิริกุล วะสี. 2548. สำรพักบวบ. นิทรรศกำรวิชำกำร มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์. แหล่งที่มำ:
http://www3.rdi.ku.ac.th/exhibition/48/Project/index_84.htm, 22 มีนำคม 2562.
สรำยุทธิ์ ไทยเกื อ ทวีศักดิ์ ชื่นปรีชำ และพิมพำพร พลเสน. 2550. วิธีกำรทำกำรพักตัวที่เกิดจำก
เปลือกหุ้มเมล็ดแข็งของเมล็ดพันธ์ถั่วอำหำรสัตว์เขตร้อนบำงชนิด, น. 35-50. ใน รำยงำนผลกำรวิจัยกองอำหำรสัตว์ประจำปี พ.ศ. 2550 กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. สถำนีพัฒนำอำหำรสัตว์มหำสำรคำม, มหำสำรคำม.
อนันตกร เทพหัสดิน ณ อยุธยำ. 2536. กำรเปลี่ยนแปลงของสำรคล้ำย Gas และสำร ABA
ระหว่ำงกำรพัฒนำและเก็บรักษำของเมล็ดพันธุ์แตง. วิทยำนิพนธ์ปริญญำโท,
มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์.
Copeland, L.O. and M.B. McDonald. 2001. Principles of Seed Science and
Technology. 4th ed. Kluwer Academic, Massachusetts.
Davis, J.M. and C.D. Decourley. 1993 Luffa sponge gourds: A potential crop for
small Farms. NewcropTM the New crop Resource Online Program.
Fao. 2009. Trade: lmports and Exports. FAOSTAT. Available Source: http://faotat.
Fao. Org/site/342/default.aspx.March 21, 2009.
Groot, S.P.C. and C.M. Karssen. 1992. Dormancy and germination of abscisic acid-
deficient tomato seeds: Studies with the sitiens mutant. Plant Physiol.
99: 952-958.
ISTA. 2007. International Rules for Seed Testing. 3th ed. Bassersdorf: The
International SeedTesting Association.
Keim, P., B.W. Diers and R.C. Shoemaker. 1990. Genetic analysis of soybean hard
Seededness with molecular markers. Theor. Appl. Genet. 79: 465-469.
Khan, A.A. 1980. The Physiology and Biochemistry of Seed Dormancy and
Germination. 2 nd ed. Elsevier, Netherlands.
Porter, N.G. and P.F. Wareing. 1974. The role of the oxygen permeability of the seed
coat in the dormancy of seed of Xanthium pennsylvanicum Wallr. J. Exp. Bot. 25: 583-594.
Salanenka, Y.A., M.C. Goffinet and A.G. Tayloy. 2009. Structure and Histochemistry of
themicropylar and chalazal regions of the perisperm–endosperm envelope of cucumber seeds associated with solute permeability and germination. J. Amer. Soc. Hort. Sci. 134: 479-487
Yim, K.O. and K.J., Bradford. 1998. Callose deposition is responsible for apoplastic
semipermeability of the endosperm envelope of muskmelon seeds. Plant Physiol. 118: 83–90.
|