- ชื่อเรื่อง : ผลของน้ำนาโนบับเบิลต่อปริมาณสารสำคัญในต้นอ่อนผักบุ้ง
- title : EFFECTS OF NANO BUBBLES ON IMPORTANT SUBSTANCE CONTENT IN WATER CONVOLVULUS SPROUTS
- ผู้แต่ง : นางสาวกรกนก ชาวชัยนาท
อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ประธานหลักสูตร : อาจารย์ ดร.ราชาวดี ยอดเศรณี ปีการศึกษา : 2563 - บทคัดย่อ :
ต้นอ่อนผักบุ้ง กำลังเป็นผักที่ได้รับความนิยมมากในกลุ่มของผู้รักสุขภาพ เนื่องจากผักบุ้งอุดมไปด้วยคุณค่าทางอาหารสูง ซึ่งประกอบไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุที่สำคัญที่จำเป็นต่อร่างกาย งานวิจัยนี้จึงได้ศึกษาน้ำนาโนบับเบิลที่มีผลต่อสารสำคัญของต้นอ่อนผักบุ้ง โดยการวางแผนการทดลองแบบ CRD (Completely Randomized Design) จำนวน 10 ซ้ำ โดยวิเคราะห์หาปริมาณคลอโรฟิลล์ น้ำหนักสด น้ำหนักแห้งและค่าไนเตรท ทำการเพาะเมล็ดผักบุ้งจีน รดน้ำเปล่าที่ทำฟองอากาศด้วยเครื่องไมโคร/นาโนบับเบิลเป็นเวลา 0 10 20 30 และ 40 นาที รดน้ำวันละ 1 ครั้ง ครั้งละ 50 มิลลิลิตร พบว่า พบว่าการให้น้ำไมโคร/นาโนบับเบิลระยะเวลา 40 นาทีมีผลต่อการงอกของเมล็ด ความยาวของราก และความสูงของต้นมากที่สุด แต่ปริมาณน้ำเปล่าที่ทำฟองอากาศด้วยเครื่องไมโคร/นาโนบับเบิลเป็นเวลา 0 10 20 30 และ 40 นาทีไม่มีผลต่อสารสำคัญในต้นอ่อนผักบุ้ง
- เอกสารอ้างอิง :
กรมส่งเสริมการเกษตร. 2559. เอกสารคำแนะนำที่ 3/2559. การเพาะผักงอก. กระทรวงเกษตร และ สหกรณ์. ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด, กรุงเทพฯ.
กรรณิกา จ้าเสียง. 2555. ปริมาณไนเตรทที่ตกค้างในผักสลัด (Green oak). สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
เกรียงไกร มิตรรัก. 2543. ลักษณะทางพฤษศาสตร์. จอมยุทธ แห่งบ้านจอมยุทธ. แหล่งที่มา:
https://www.baanjomyut.com. 23 ธันวาคม 2562
ชิติ ศรีตนทิพย์. 2561. การประยุกต์ใช้ไมโคร/นาโนบับเบิลต่อการงอกและการเจริญเติบโตของต้น กล้าคะน้า. สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา จังหวัด ลำปาง
ไทยเกษตรศาสตร์. 2012. ผักบุ้งจีน. การเกษตรของไทย. แหล่งที่มา:
https://www.thaikasetsart.com. 23 ธันวาคม 2562
ธนิกพงศ์ ครองข้าวนาสาร. 2555. การวิเคราะห์ปริมาณวิตามินซี คลอโรฟิลด์ และเส้นใยอาหาร ของต้นอ่อนทานตะวัน. ปัญหาพิเศษปริญญาตรี ภาควิชาพืชสวน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. นครปฐม นิรนาม. 2017. วิตามินเอ. หนังสือวิตามินไบเบิล. แหล่งที่มา : https://medthai.com
21 มกราคม 2563
ภาคภูมิ พระประเสริฐ. 2550. สรีรวิทยาของพืช. กรุงเทพฯ, โอเดียนสโตร์.
รุ่งระวี ทองดอนเอ. ม.ป.ป. เทคโนโลยีไมโคร/นาโนบับเบิลกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก
ศรานนท์ เจริญสุข. ม.ป.ป. หนังสือคู่มือการเกษตรผักสวนครัว. สำนักพิมพ์เพชรกะรัต. กรุงเทพฯ.
สุทธิชัย ปทุมล่องทอง. 2543. ผักปลอดสารพิษ. สำนักพิมพ์ธารบัวแก้ว. นนทบุรี
เอกรินทร์ สารีพัว, ปริญดา แข็งขัน และ ชยพร แอคะรัจน์. 2561. ผลของพันธุ์และวัสดุเพาะต่อการ เจริญเติบโตและผลผลิตในการผลิตต้นอ่อนผักบุ้ง. สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
John A. Reif, Jr. 2018. Influences of Air, Oxygen, Nitrogen, and Carbon Dioxide Nanobubbles on Seed Germination and Plant Growth. Department of Civil and Environmental Engineering, New Jersey Institute of Technology, Newark, New Jersey, United States
Oshita, S. and S. Liu. 2013. Nanobubble characteristics and its application to agriculture and foods. Proceedings of AFHW 2013. International Symposium on Agri-Foods for Health and Wealth August 5-8, 2013, Golden Tulip Sovereign Hotel, Bangkok, Thailand
Sritontip, C., C. Dechthummarong, V. Thonglek and W. Phonsaeng. 2017. Effects of high voltage plasma and micro/nano bubbles on seed germination and growth of crop under hydroponic system. In the 2nd International Symposium on Application of High-voltage, Plasmas & Micro/Nano Bubbles to Agriculture and Aquaculture (RMUTL ISHPMNB 2017). 26 – 27 July 2017, Rajamangala University of Technology Lanna, Chiang Mai, Thailand.
|