- ชื่อเรื่อง : การคัดเลือกเชื้อจุลินทรีย์ปฏิปักษ์จากใบพืชที่มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อก่อโรคเหี่ยวของพริก
- title : SCREENING OF ANTAGONISTIC FUNGI FROM PLANT LEAVES INHIBITING GROWTH OF FUSARIUM WILT DISEASE PATHOGEN IN CHILLI
- ผู้แต่ง : นางสาวจุฬารักษ์ ศรีศักดา
อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมาพร เรืองสังข์ หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ประธานหลักสูตร : อาจารย์ ดร.ราชาวดี ยอดเศรณี ปีการศึกษา : 2562 - บทคัดย่อ :
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคัดแยกเชื้อราจากใบพืชผักสมุนไพรชนิดต่างๆ และเพื่อทดสอบประสิทธิภาพของเชื้อราจากผิวพืชที่แยกได้ในการเป็นปฏิปักษ์ต่อเชื้อราก่อโรคในพริก โดยทาการแยกเชื้อราจากใบพืช 10 ชนิด ได้เชื้อราทั้งหมด 16 ไอโซเลทจากพืช 6 ชนิดได้แก่ กะเพรา สะระแหน่ มะละกอ ตะไคร้ มิ้นท์ และแมงลัก เมื่อนามาทดสอบการเป็นปฏิปักษ์ต่อเชื้อ Fusarium sp. ที่ก่อโรคเหี่ยวในพริก พบว่าเชื้อรารหัส SB5 สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อโรคได้มากที่สุด คือ 83.0% รองลงมาคือเชื้อรารหัส B1 ยับยั้งเชื้อโรคได้ 75.60% ซึ่งเชื้อราทั้ง 2 ไอโซเลทนี้มีประสิทธิภาพสูงกว่าเชื้อราอื่นที่เหลืออย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
- เอกสารอ้างอิง :
กฎหมายกระทรวงสาธารณสุข. 2560. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 387 เรื่องอาหารที่มี
สารพิษตกค้าง. แหล่งที่มา: http://food.fda.moph.go.th, 9 มีนาคม 2662.
กรมส่งเสริมการเกษตร. 2551. พริก. สานักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร: กรุงเทพฯ.
เกษตรนานา. 2557. โรคของพริกและการป้องกัน. แหล่งที่มา: https://kasetnana.blogspot.com, 31 พฤษภาคม 2562.
คลินิกพืช สวพ.1. 2562. โรคเหี่ยวเหลืองพริก. สานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่1. แหล่งที่มา:
http://oard1.doa.go.th, 31 พฤษภาคม 2562.
จุฬาลักษณ์ แตงอ่า. 2012. ฤทธิ์ต้านเชื้อราก่อโรคพืชในมะเขือเทศของเชื้อเอนโดไฟติก สเตรปโท
ไมซิสสายพันธุ์ P4. ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ณัฐสุดา บรรเลงสวรรค์. 2553. การป้องกันโรคใบจุดอัลเทอนาเรีย และโรคเหี่ยวฟิวซาเรี่ยมของ พริกและมะเขือเทศ โดยการใช้เชื้อเอนโดไฟท์ติก แอกติโนไมซีสต์ และเชื้อรา Trichoderma harzianum. ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ไทยเกษตรศาสตร์. 2555. โรคของพริกในประเทศไทย. แหล่งที่มา: http://www.thaikasetsart.com/, 1 กุมภาพันธุ์ 2562.
มัลลิกา จินดาซิงห์. 2562. การใช้จุลินทรีย์ในการป้องกันและกาจัดศัตรูพืช. มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
แหล่งที่มา: http://www.chumphon2.mju.ac.th, 1 มิถุนายน 2562.
นลินี ศิวากรณ์, รุ่งนภา คงสุวรรณ์ และ วสันต์ ผ่องสมบูรณ์. 2549. การใช้เชื้อจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ในการควบคุมโรคแคงเกอร์ของส้มโอ. สานักวิจัยและพัฒนาการอารักขาพืช. แหล่งที่มา: http://www.doa.go.th, 22 ธันวาคม 2562.
บุญส่ง เอกพงษ์. 2558. เทคนิคการผลิตเมล็ดพันธุ์ลูกผสม. สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
ประไพพิศ สุวิทย์ชยานนท์. 2552. ผลของสารสกัดจากกานพลู ขมิ้น ชา และพริก ในการควบคุม
โรคของ พืชตระกูลกะหล่า. ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รังษิวุฒิ สนุ่นดี. 2552. การปลูกพริกปลอดสารพิษ. Thaigreenago. แหล่งที่มา: https://www.thaigreenagro.com, 19 เมษายน 2562.
รุ่งนภา โบวิเชียร. 2561. ข้อมูลเศรษฐกิจการเกษตร. สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. แหล่งที่มา:
http://www.oae.go.th/, 3 มีนาคม 2562.
วรรณภา เสนาดี, ปกป้อง ป้อมฤทธิ์ และ ชิดชนก ไชยพร. 2561. พลิกพริก เป็นพริกปลอดภัยด้วย
โมเดลพริก. เคหการเกษตร. แหล่งที่มา: https://www.kehakaset.com, 19 กุมภาพันธุ์ 2562.
วรรณดี บัญญัติรัชต, วีระศักดิ์ ศักดิ์ศิริรัตน์, พิศาล ศิริธร และปิยะดา ธีรกุลพิสุทธิ์. 2546. การ
บ่งชี้ race ของเชื้อรา Fusarium oxysporum f. sp. lycopersici สาเหตุโรคเหี่ยวของมะเขือเทศด้วยชุดพืชอาศัยตรวจสอบมาตรฐานและการพัฒนาชุดพืชอาศัย ตรวจสอบในประเทศไทย. ภาควิชาโรคพืชวิทยาคณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
วิกิพีเดีย. 2562. พริก. แหล่งที่มา: https://th.wikipedia.org, 5 พฤษภาคม 2562.
ไวท์สตาร์. 2560. เคล็ดลับสาหรับการปลูกพริก. แหล่งที่มา: http://www.whitestar-inno.com, 7
มิถุนายน 2562.
สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน. 2562. โรคพืชและการจัดการด้วยวิธีชีวภาพ. แหล่งที่มา:
http://kanchanapisek.or.th, 6 พฤษภาคม 2562.
ศุภลักษณ์ ยาเจริญ. 2552. การคัดเลือกเชื้อจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ที่เหมาะสมเพื่อควบคุมเชื้อสาเหตุ
โรคพืชในดิน. ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อภิรัชน์ สมฤทธิ์, ยุทธศักดิ์ เจียมไชยศรี, ธารทิพย ภาสบุตร และ สุณีรัตน์ สีมะเดื่อ. 2559. สารวจ รวบรวม และจาแนกรา Fusarium สาเหตุโรคพืช. กรมวิชาการเกษตร. แหล่งที่มา: http://www.doa.go.th, 19 เมษายน 2562.
อุไรวรรณ จันทร์เหล่าหลวง. 2551. การคัดเลือกเชื้อแอคติโนมัยสีทที่สามารถผลิตสารปฏิชีวนะ
สาหรับยับยั้งการเจริญของ Fusarium sp. ซึ่งก่อโรคหลังการเก็บเกี่ยวในกล้วย. ปัญหาพิเศษปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 50 น.
Bashira, R. M., Atiqb, M., Sahic, T. S., Mohyo-ud-Dind, A., Mohsane, M., Waseem, A., W.,
Iqbalg, M., Raheelh, M. and Khani, A. T. Q. 2016. In-vitro antagonistic potential of different fungi against Fusarium oxysporum f. sp. capsici. International Journal of Sciences: Basic and Applied Research 29 (2): 248-257.
Bashir, R.M., Atiq, M., Mohsin, M., Raheel, M. and Abbas, W. 2017. Management of
Fusarium wilt of chilli caused by Fusarium oxysporum f. sp. capsici through nutritional amendments under greenhouse conditions. International Journal of Biosciences 10(3):185-191.
Department of Agriculture Government of West Bengal. 2019. Damping Off of Chilli.
Available Source: http://matirkatha.net, June 1, 2019.
FAO. 2016. Crop Production Data. Available Source:
http://www.fao.org/faostat/en/#data/QC, June 6, 2019.
Ferniah, S.R., Kasiamdari, S.R., Priyatmojo, A. and Daryono, S.B. 2018. Resistance
response of chilli (Capsicum annuum L.) F1 to Fusarium oxysporum involves expression of the CaChi2 gene. Tropical Life Sciences Research 29(2). 29–37.
Ferniaha, S.R., Pujiyantob, S. and Kusumaningruma, P.H. 2018. Indonesian red chilli
(Capsicum annuum L.) capsaicin and its correlation with their responses to pathogenic Fusarium oxysporum. NICHE Journal of Tropical Biology 1(2): 7-12.
Istifadah, N., Ningtyas, N.Y.D., Suryatmana, P. and Fitriatin, N. B. 2017. The abilities of endophytic and biofertilizing bacteria and their combinations to suppress bacterial wilt disease (Ralstonia solanacearum) of chilli. In ICSAFS Conference Proceedings 2nd International Conference on Sustainable Agriculture and Food Security: A Comprehensive Approach : 296-304.
Joshi, M., Srivastava, R., Sharma, K.A. and Prakash, A. 2012. Screening of resistant
varieties and antagonistic Fusarium oxysporum for biocontrol of Fusarium wilt of chilli. Journal of Plant Pathology & Microbiology 3:5.
Manu, G.D., Tembhurne, V.B., Kisan, B., Aswathnarayana, S.D. and Diwan R.J. 2014.
Inheritance of Fusarium wilt and qualitative and quantitative characters in chilli (Capsicum Annuum L). Journal of Agriculture and Environmental Sciences 3 (2): 433-444
Murtaza, A., Bokhari, A.A.S., Kanwal, I., Ali, Y., Ahmad, T., Habib, A., Mazhar, K., Hussain, M. and Randhawa, S. 2017. Anti-fungal potential of chilli germplasm agent Fusarium wilt. Pakistan Journal of Phytopathology 29 (01): 57-61.
Nagendran, K., Loganathan, M., Saha, S., Mishra, A., Pandey, K. K., Rai, R.M. Gupta, S., Rai, A.B. and Singh, B. 2016. Biological management of wilt disease on chilli caused by Fusarium solani. Vegetable Science 43 (2): 253-256.
Neela, A.F., Sonia, A.I. and Shamsi, S. 2014. Antifungal activity of selected medicinal plant extract on Fusarium oxysporum schlechtthe causal agent of Fusarium wilt disease in tomato. American Journal of Plant Sciences 5: 2665-2671.
Ontario. 2009. Damping - off and Root rots. Available Source: http://www.omafra.gov.on.ca, June 1, 2019.
Pandita, D., Bhat, A.M., Mir, S., Jabeen, N., Anwar, A., Hussain, K., Dar, A.N., Dar, Q.S.
and Wani, Y.M. 2019. Screening of traditional chilli cultivars of Kashmir for Fusarium wilt resistance. International Journal of Chemical Studies 7(1): 1501-1503.
Prasannath, K., Karunakaran, S. and Mahendran, S. 2011. Control of Fusarium wilt of chilli (Capsicum annuum) by crude plant extracts. In Proceedings of the 10th Annual Research Session-2011. Eastern University, Sri Lanka.
Ruangsanka, S. 2014. Identification of phosphate-solubilizing fungi from the asparagus
rhizosphere as antagonists of the root and crown rot pathogen Fusarium oxysporum. Science Asia 40 :16-20.
Seminis. 2019. Phytophthora in Peppers. Available Source:
https://www.seminis us.com, June 1, 2019. SGVGROUP. 2562. โรคพรายในกล้วย. แหล่งที่มา: https://www.svgroup.co.th, 31 พฤษภาคม 2562.
Shafique, S., Asif, M. and Shafique, S. 2015. Mamagement of Fusarum oxysporum f.
sp. by leaf extract of Eucalyptus citriodora. Pakistan Journal of Botany 47(3): 1177-1182.
Suryanto, D., Patonah, S. and Munir, E. 2010. Control of Fusarium Wilt of chilli with
chitinolytic bacteria. HAYATI Journal of Biosciences 17 (1): 5-8.
Suryanto, D., Wulandari, D.S., Nurtjahja, K., Munir, E. and Bungsu, A. 2018. An ability of endophytic bacterial isolated from chilli to reduce seedling-off caused by Fusarium oxysporum. Journal of Physics: Conference Series 1116:1-9.
Thaigreenago. 2018. เทคนิคการปลูกพริกปลอดสารพิษปลอดโรคกุ้งแห้ง. แหล่งที่มา: https://www.thaigreenagro.com, 2 มิถุนายน 2562.
|