การศึกษาผลของ PBZ เพื่อให้ได้ระดับความเข้มข้นสารควบคุมการเจริญเติบโตที่ เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของว่านน้ำทองในสภาพปลอดเชื้อ วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) โดยนำส่วนข้อมาเพาะเลี้ยงบนสูตรอาหาร MS ที่เติม PBZ ระดับความเข้มข้น 0, 0.5, 1.0, 1.5 และ 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ภายใต้ความเข้มแสง 1,000 ลักซ์ อุณหภูมิ 26 ± 2 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า การเพาะเลี้ยงว่านน้ำทองบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่ไม่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโต PBZ มีความเหมาะสมในการเจริญเติบโตทางด้านความสูง จำนวนใบ จำนวนราก และความยาวรากของต้นว่านน้ำทองมากที่สุด กรรณิกา โพธิ์สามต้น. 2555. ผลของ BA ต่อการเจริญเติบโตของว่านน้้าทองในสภาพปลอดเชื้อ.สาขาวิชาพืชศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ, พระนครศรีอยุธยา. 28 หน้า. ครรชิตธรรมศิริ. 2541. เทคโนโลยีการผลิตกลวยไม. อัมรินทรพริ นติ งแอนดพับลิชชิ่ง, กรุงเทพฯ. 230 หนา. เพื่อเกษตรไทย. 2558. ว่านน้าทอง. ไม้ดอกไม้ประดับ. แหล่งที่มา: https://puechkaset.com/ 18 กุมภาพันธ์ 2558. ยุพาภรณจิโรภาสภาณุวงศ์, สุภาวดี รามสูตร, เกศศิรินทรมหรรณพ, และ ธิดารัตนนิลกระวัตร. 2558. การเพิ่มประสิทธิภาพการเพาะเลี ยงเนื อเยื่อมวงเทพรัตนในสภาพปลอดเชื อโดยใชพาโคลบิวทราโซล. วารสารวิชชา 34(1): 53-59. ศิริลักษณ์ เจริญดี. 2544. การอนุรักษ์และขยายพันธุ์กล้วยไม้เอื้องเงินหลวงโดยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ. วิทยานิพนธ์ปริญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. สุชาดา พัฒนกนก. 2547. การเพาะเลี้ยงกล้วยไม้. เอกสารค้าสอนวิชาการเพาะเลี ยงกล้วยไม้. คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, ปทุมธานี. 187 น. สุภาวดีรามสูตร, จีระวรรณ สงเกิด, และ ปิยะนุช อินทรพฤกษา. 2561. การเพาะเลี ยงเนื อเยื่อกล้วยไม้หางช้างโดยใช้สารพาโคลบิวทราโซล. วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 5(3): 10-17. โสภา ชูเพ็ง และ สมปอง เตชะโต. 2562. ผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตต่อการเจริญเติบโตและการออกดอกในหลอดทดลองของกล้วยไม้ลูกผสมระหว่างหวายซานทานากับเหลืองจันทบูร. วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 6(1): 38-47. อรุณี ม่วงแก้วงาม และ สมปอง เตชะโต. 2559. ผลของสารพาโคลบิวทราโซลต่อการเพาะเลี ยงเนื อเยื่อดาหลา. วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 8(1): 111-116. |