- ชื่อเรื่อง : ผลของการฉายรังสีแกมมาต่อการงอกของเมล็ด ของโหระพาประดับ พันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส
- title : EFFECT OF GAMMA IRRADIATION ON SEED GERMINATION OF BASIL EVERLEAF GENOVESE
- ผู้แต่ง : นางสาวชลธิชา วงษ์ประดิษฐ์
อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ประธานหลักสูตร : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา ปีการศึกษา : 2564 - บทคัดย่อ :
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณรังสีที่มีผลต่อเมล็ดโหระพาประดับ พันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส ปัจจุบันมีการนาเทคนิคการฉายรังสีแกมมาใช้ประโยชน์ในการสร้างความแปรปรวนของฐานพันธุกรรมของพืชให้มีความหลากหลายมากขึ้น จึงนามาทาการศึกษาต่อความงอกของเมล็ด อัตราการรอดชีวิต และลักษณะสัณฐานวิทยาของโหระพาประดับ พันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส โดยฉายรังสีที่ปริมาณ 0 , 500 และ 600 เกรย์ พบว่าปริมาณรังสีที่สูงขึ้นทาให้พืชมีเปอร์เซ็นต์การงอก และอัตราการรอดชีวิตลดลง เมื่อเข้าสู่สัปดาห์ที่ 4 เมล็ดที่ได้รับการฉายรังสีแกมมาที่ปริมาณรังสี 500 และ 600 เกรย์ ส่งผลทาให้พืชชะงักการเจิญเติบโตและตายในที่สุด จึงทาการเปรียบเทียบ ระหว่างโหระพาประดับพันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส กับต้นที่ไม่ได้รับการฉายรังสี (Control) และโหระพาพันธุ์ไทย โดยเปรียบเทียบ ความสูงต้น ความยาวใบ พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ดังนี้ โหระพาประดับพันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส ความสูงต้นมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 7.44±0.23 เซนติเมตร โหระพาพันธุ์ไทย ความสูงต้นมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 11.97±0.39 เซนติเมตร โหระพาประดับพันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส ความยาวใบมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 4.80±0.19 เซนติเมตร โหระพาพันธุ์ไทย ความยาวใบมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 3.98±0.14 เซนติเมตร โหระพาประดับพันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส ความกว้างใบมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 3.79±0.07 เซนติเมตร โหระพาพันธุ์ไทย ความกว้างใบมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 2.23±0.11 เซนติเมตร
- เอกสารอ้างอิง :
กรมวิชาการเกษตร. (ม.ป.ป.) วิธีปลูกโหระพำ ผักสวนครัวปลูกง่ำยไว้ทำอำหำรกินเองที่บ้ำน. แหล่งที่มา : https://www.pd.co.th/th/artic/detail
กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์.2532.แมงลัก, น.51-55. ในรำยงำนผลกำรศึกษำโครงสร้ำงกำร ศึกษำวิจัยตลำดพืชสมุนไพรและเครื่องเทศ. บริษัทการจัดการเกษตรและอุตสาหกรรม จากัด กรุงเทพฯ
กลุ่มอารักขาพืช สานักงานเกษตรจังหวัดบึงกาฬ จังหวัดบึงกาฬ. (2561, 26 สิงหาคม). เพลี้ยอ่อน มดกับโรคใบหยิกในพริก. แหล่งที่มา : https://www.gotoknow.org/posts/570215Satja
กรมวิชาการเกษตร. (ม.ป.ป.) โรครำน้ำค้ำง. แหล่งที่มา : http://microorganism.expertdoa.com
จริงแท้ศิริพานิช. 2538. สรีรวิทยำและเทคโนโลยีหลังกำรเก็บเกี่ยวผักและผลไม้, สานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 396 น.
อัญชลี จาละ, 2556, กำรชักนำให้เกิดกำรกลำยในหม้อข้ำวหม้อแกงลิงในสภำพปลอดเชื้อด้วยรังสี แกมมำแบบเฉียบพลัน, ว.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 21(1): 1-10.
ณัฏฐา ผดุงศิลป์, ธัญญะ เตชะศีลพิทักษ์, เฌอมาลย์ วงศ์ชาวจันท์ และณัฐพงค์ จันจุฬา, 2558, กำร ชักนำให้เกิดกำรกลำยในต้นแพงพวย โดยกำรฉำยรังสีแกมมำแบบเฉียบพลัน, Thai J. Sci. Technol. 4(1): 95-103.
ณัฏฐิยา เกื อทาน, ธัญญะ เตชะศีลพิทักษ์, ทัศไนย จารุวัฒนพันธ์, ณัฐพงค์ จันจุฬา และนุชรัฐ บาลลา, 2561, อิทธิพลของกำรฉำยรังสีแกมมำต่อกำรงอกของเมล็ดและกำรเจริญ เติบโตของต้น แววมยุรำพื้นเมืองในสภำพปลอดเชื้อ, Thai J. Sci. Technol. 7(6): 580-587.
ณรงค์ โฉมเฉลา และสมทรง เล็กสกุล. 2511. การศึกษาเบื องต้นเกี่ยวกับพืชให้นามันหอมระเหย (Actinum spp.), น. 55. ในการประชุมเชิงวิชาการการเกษตรศาสตร์และชีววิทยาครั งที่ 7 สาขาพืช. 29 ม.ค. -1 ก.พ. 2511 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพ 1.
ณัฐพงค์ จันจุฬา และอัญชลี จาละ, 2557, กำรชักนำให้เกิดกำรกลำยในต้นพิงกุยคูล่ำโดยกำรฉำย รังสีแกมมำ, Thai J. Sci. Technol. 3(2): 76-81.
นิรนาม. 2539. โครงกำรเผยแพร่งำนวิจัยพบเมือกขำวของเมล็ดแมงลักพัฒนำเป็นยำระบำยได้. สานักข่าวงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 414:14
นิรนาม. (ม.ป.ป) โหระพาฝรั่ง. แหล่งที่มา: https://www.thai-thaifood.com
นิรนาม. (ม.ป.ป ) พีทมอส แหล่งที่มา: https://www.suankrua.com/
นิรุต. 2553. มูคโค แหล่งที่มา : https://nirutfarm.wordpress.com
นุร์ซานีซา เจะดาโอะ และราฮีมา วาแมดีซา. 2563. ผลของรังสีแกมมาต่อการงอกของเมล็ด ความ รอดชีวิตของต้นกล้า และลักษณะสัณฐานวิทยาของเทียนบ้าน. คณะเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์.
ปรเมษฐุ์ ปัญญาเหล็ก. 2558. รังสีแกมมา. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำ. แหล่งที่มา : http://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?bookID=142&pageid=6 &read=true&count=true
ธานี ศรีวงศ์ชัย, ณัฏฐา ผดุงศิลป์ และประภา ศรีพิจิตต์, 2561, กำรชักนำให้เกิดกำรกลำยพันธุ์ของสี เยื่อหุ้มเมล็ดในข้ำวพันธุ์ปทุมธำนี1 โดยกำรฉำยรังสีแกมมำแบบเฉียบพลัน, Thai J. Sci. Technol. 7(1): 13-20.
ยงศักดิ์ ขจรผดุงกิตติ และอัญชลี จาละ, 2558, รังสีแกมมำแบบเฉียบพลันที่มีผลต่อเนื้อเยื่อหน้ำวัว ในสภำพปลอดเชื้อ, Thai J. Sci. Technol. 4(2): 177-184.
สุธาทิพ อมรประวัติ. โหระพำคุณค่ำที่มีมำกกว่ำควำมอร่อย. คอลัมน์บทความพิเศษ. นิตยสารหมอ ชาวบ้าน เล่มที่ 356. ธันวาคา 2551.
สุพิชชา สิทธินิสัยสุข, ธัญญะ เตชะศีลพิทักษ์, พีรนุช จอมพุก และณัฐพงค์ จันจุฬา, 2561, ผลของ รังสีแกมมำแบบเฉียบพลันต่อต้นลินเดอร์เนียในสภำพปลอดเชื้อ, Thai J. Sci. Technol. 7(2): 158-168.
หมอชาวบ้าน โหระพา. แหล่งที่มา : https://www.doctor.or.th/.
หมอชาวบ้านโครงการอนุรักษ์พันธุ์กรรมพืชฯ.(2562) ใบโหระพา. แหล่งที่มา : https://www.doctor.or.th/article/detail/5821
เมืองทอง ทวนทวี และ สุรีรัตน์ ปัญญาโตนะ. 2525. สวนผัก. พิมพ์ครั งที่1. กลุ่มหนังสือเกษตร, กรุงเทพฯ. 324 หน้า.
วิทย์ เที่ยงบูรณธรรม. 2536. พจนำนุกรมสมุนไพรไทย.สานักพิมพ์สุริยบรรณ์, กรุงเทพฯ. 965 น.
แหล่งที่มา : https://li01.tci-thaijo.org
อรวรรณ คงพิทักษ์.2541. แมงลักผักพื้นบ้ำน.ในกำแพงแสนสัมพันธ์วิทยำเขตกำแพงแสน นครปฐม. 18(208): 19-20
อรุณี วงศ์ปิยะสิทธิ์, 2545. รังสีแกมมาทาให้เกิดการกลายพันธุ์. รังสีพัฒนำพันธุ์ได้อย่ำงไร. แหล่งที่มา : http://www.sci.ku.ac.th/Gamma/gamma_plant.html
Chumpol, M. (2013). The effect of gamma irradiation on mutant induction in alfalfa (Medicago sativa L.). Bangkok, Ramhamhaeng University. From researcher.ru.ac.th/Research_Action/0000000 418_1.pdf Retrieved on 12 July 2020.
Dwyer, M. 2012. All About Ornamental Basil. Rotary Botanical Gardens. Available Source: http://www.newprocontainers.com/blog/all-about-ornamrntal-basil/, June 3,2558
Gang, L., Xiaoying, Z., Yiging, Z., Qingcheng, Z., Xun, X. and Jiashu, C., 2007, Effect of radiation on regeneration of Chinese narcissus and analysis of genetic variation with AFLP and TAPD markers, Plant Cell Tiss. Org. 88: 319-327
Omar, S.R., Ahmed, O.H. Ahmed, S. Saamin, and N.M. Ab. Majid. 2008. Gamma radiosensitivity study on chili (Capsicum annuum). Ame. J. Applied Sci. 5 (2): 67-70.
|