วัตถุประสงค์ของการทดลองครั้งนี้เพื่อศึกษาการใช้มูลโคเนื้อและโคนมร่วมกับขุยมะพร้าวเป็นวัสดุเลี้ยงไส้เดือนดินพันธุ์ Eudrilus eugeniae วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) ดินแบ่งกลุ่มทดลองเป็น 5 กลุ่มทดลอง และแต่ละกลุ่มทดลองแบ่งเป็น 4 ซ้า แต่ละซ้าเลี้ยงไส้เดือนจานวน 10 ตัวรวมทั้งหมด 200 ตัว โดยใช้วัสดุเลี้ยงไส้เดือนดินมีอัตราส่วนร้อยละโดยปริมาตรที่แตกต่างกันในแต่ละกลุ่มดังนี้ กลุ่มที่ 1 กลุ่มควบคุมใช้มูลโคเนื้อต่อขุยมะพร้าวในอัตราส่วน 50:50 กลุ่มที่ 2-5 ใช้มูลโคนมต่อขุยมะพร้าวในอัตราส่วนที่ต่างกันตามลาดับ ดังนี้ 45:55 40:60 55:45 และ 60:40 จากการศึกษาการใช้มูลโคเนื้อและโคนมร่วมกับขุยมะพร้าวเป็นวัสดุเลี้ยงต่อสมรรถภาพการผลิตของไส้เดือนดิน พบว่ามีอัตราคงอยู่และน้าหนักตัวที่ลดลงของไส้เดือนทุกกลุ่มแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P> 0.05) เมื่อพิจารณาระหว่างการทดลองพบว่า กลุ่มที่ใช้วัสดุเลี้ยงโคนมต่อขุยมะพร้าวในอัตราส่วน 60:40 มีน้าหนักตัวสูงกว่ากลุ่มอื่นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P <0.05) ส่วนอัตราการคงอยู่เมื่อสิ้นสุดการทดลองไม่แตกต่าง (P > 0.05) อัตราส่วนมูลโคนมร่วมกับขุยมะพร้าวที่ทาให้น้าหนักตัวของไส้เดือนดินมีน้าหนักตัวลดลงตลอดการทดลองคืออัตราส่วน 50:50 45:55 และ 40:60 แต่อัตราส่วน 60:40 จะมีน้าหนักตัวที่ลดลงน้อยที่สุด จากการทดลองอัตราส่วนมูลโคนมร่วมกับขุยมะพร้าวเป็นวัสดุเลี้ยงไส้เดือนดินดีที่สุด เท่ากับ 60:40 ซึ่งเหมาะสาหรับการนาไปเลี้ยงเพื่อขยายพันธุ์ที่เหมาะสมต่อสมรรถภาพการผลิตปุ๋ยดีที่สุด และยังเหมาะสมต่อสมรรถภาพการเจริญเติบโตของไส้เดือนดินพันธุ์ Eudrilus eugeniae กรมส่งเสริมการเกษตร. 2549. การเลี้ยงไส้เดือนดิน. กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กลุ่มผู้เลี้ยงไส้เดือนดิน. 2550. สายพันธุ์ไส้เดือนดินที่นิยมใช้ทางการค้าและการเลี้ยง เพื่อกาจัดขยะ. แหล่งที่มา : http://www.thaiworm.com/index.php?lay= show&ac=article&Ntype=2&Id=406428, 9 กันยายน 2550. จีรวัฒน์ นวนพุดซา. 2551. การศึกษาเปรียบเทียบความเร็วและคุณภาพในการผลิตปุ๋ยหมัก มูลไส้เดือนดินจากการย่อยสลายขยะอินทรีย์ชนิดต่างๆ โดยไส้เดือนดินที่เป็นสายพันทางการค้าและสายพันธุ์ท้องถิ่น. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. มหาวิทยาลัยแม่โจ้, เชียงใหม่. สุภาพรณ์ ดาดง. 2549. การศึกษาการวิพากย์และบาบัดกากตะกอนแห้งจากศูนย์ผลิตภัณฑ์นม. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาเขตบางเขน, กรุงเทพฯ. สุรินทร์ มัจฉาชีพ. 2536. สัตวศาสตร์ ตอนที่ 1 สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง. สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์,กรุงเทพฯ. สามารถ ใจเตี้ย. 2555. โครงการการพัฒนารูปแบบการผลิตพืชผักสวนครัวเพื่อสุขภาพของประชา ชน ชุมชน สลวง - ขี้เหล็กอาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่, เชียงใหม่. อานัฐ ตันโช. 2549. การกาจัดขยะอินทรีย์โดยไส้เดือนดิน. มหาวิทยาลัยแม่โจ้, เชียงใหม่. อานัฐ ตันโช และ ศุภธิดา อ่าทอง. 2550. มาใช้ไส้เดือนกาจัดขยะกันเถอะ. แหล่งที่มา : http://www.agric-prod.mju.ac.th/soil/research16.htm, 12 พฤศจิกายน 2550. Buchanan, James M., 1988. Chemical Characterization and Nitrogen Mineralization Potentials of Vermicomposts Derived from Differing Organic Wastes, Earthworms in Waste and Environmental Management,SPB Acadamic Press, The Hague. Chaudhuri, P.S., T.K. Pal, and Guatum Bhattacharjee. 2003. Rubber Leaf Litters (HevaeBrasiliensis, var RRIM 600) as Vermiculture Substrate for Epigeic Earthworms,Perionyx Excavatus, Eudrilus Eugeniae and Esienia Fetida. India : Bioresource Technology 20(6): 131- 146. Edwards, C.A. and I. Burrows. 1988. The potential of earthworm composts as plant growth media. In: Edwards, C.A., Neuhauser, E.(eds) Earthworms in Waste andEnvironmental Management, The Hague, SPB Acadamic Press. Federico A. Gutiérrez-Miceli Jorge Santiago-Borraz Joaquín Adolfo Montes Molina Camerino Carlos Nafate Miguel Abud-Archila María Angela Oliva Llaven Reiner Rincón-Rosales and Luc Dendooven .2007. Vermicompost as a soil supplement to improve growth, yield and fruit quality of tomato (Lycopersicum esculentum). Bioresource Technology 98 (15): 2781-2786. Johanne Nahmani Mark E. Hodson and Stuart Black.2007.Effects of metals on life cycleparameters of the earthworm Eisenia fetida exposed to field- contaminated, metal-polluted soils. Environmental Pollution 149(1): 44-58. Kozloff, E.N. 1990. Invertebrates. Saunders college publkshing. America of. United States. Ndegwa, P.M., S.A. Thomson and K.C. Das. 2000. Effects of stocking density and feedingrate on vermicomposting of biosolids. Bioresource Technology 17(10):159-168. Tavia, P. and Rachell, S. 2004. The Worm Guide (A Vermicomposting Guide for Teachers).California integrated waste management board (CIWMB). Surendra Suthar. 2007. Vermicomposting potential of Perionyx sansibaricus (Perrier) in different waste materials. Bioresource Technology 98(6): 1231-1237. Stephenson, J. 1930. The Oligochaeta. Charendon Press, England. |