- ชื่อเรื่อง : สภาวะที่เหมาะสมในการบ่มกล้วยน้าว้าเขียวด้วยใบพืช
- title : SUITABLE CONDITIONS FOR STIMULATION OF KLUAI NAM WA KHIEO, MUSA (ABB GROUP), RIPENING WITH PLANT LEAVES
- ผู้แต่ง : นางสาวภัทรวดี สันทาลุนัย
อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมาพร เรืองสังข์ หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ประธานหลักสูตร : อาจารย์ ดร.ราชาวดี ยอดเศรณี ปีการศึกษา : 2562 - บทคัดย่อ :
งานทดลองครั งนี มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบชนิดของใบพืช ปริมาณ และระยะเวลาบ่มที่สามารถเร่งการสุกของกล้วยน้าว้าเขียวได้ดีที่สุด โดยท้าการทดลองต่อเนื่อง 3 การทดลองได้แก่ การทดลองที่ 1 ประกอบด้วย 3 ชุดทดลองคือ ไม่ใส่ใบพืช บ่มด้วยใบขี เหล็กและใบกระถินอย่างละ 500 กรัม การทดลองที่ 2 ประกอบด้วย 4 ชุดทดลองได้แก่ ไม่ใส่ใบพืช บ่มด้วยใบขี เหล็ก 500 800 และ 1000 กรัม และการทดลองที่ 3 ประกอบด้วย 3 ชุดทดลองได้แก่ บ่มด้วยใบขี เหล็ก 500 กรัมเป็นเวลา 3 วัน 4 วัน และ 5 วัน พบว่า 1) การบ่มด้วยใบขี เหล็ก 500 กรัม เป็นเวลา 3 วันท้าให้กล้วยสุกได้ดีกว่าการใช้ใบกระถิน โดยมีความหวานมากที่สุดคือ 25.00 Brix 2) การบ่มด้วยใบขี เหล็ก 500 กรัม ท้าให้กล้วยสุกได้ดีกว่าใบขี เหล็กปริมาณ 800 และ 1000 กรัม โดยผลกล้วยมีสีเปลือกเป็นค่า L* เท่ากับ 57.73 a* เท่ากับ -8.25 b* เท่ากับ +22.25 (สีเขียวปนเหลืองอ่อน) มีค่าความหวาน 22.44 Brix และมีความแน่นเนื อน้อยที่สุด คือ 2.70 (N/cm2) 3) การบ่มด้วยใบขี เหล็ก 500 กรัม เป็นเวลา 5 วัน ผลกล้วยมีสีเปลือกเป็นค่า L* เท่ากับ 57.13 a* เท่ากับ -8.10 b เท่ากับ +23.20 (สีเขียวปนเหลืองอ่อน) มีค่าความหวานมากที่สุด คือ 23.66 Brix และมีความแน่นเนื อน้อยที่สุด คือ 2.66 (N/cm2) แต่ผู้บริโภคประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัสให้คะแนนการบ่มกล้วยน้าว้าเขียวด้วยใบขี เหล็ก 500 กรัม เป็นเวลา 4 วันมากกว่าชุดการทดลองอื่นอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ
- เอกสารอ้างอิง :
กนกพล ทรัพย์มำก. 2550. กำรบ่มกล้วยนำว้ำก่อนกำรเก็บรักษำที่อุณหภูมิต่ำ. ปัญหำพิเศษ
ปริญำตรี, มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์.
กฤษณำ ไกรสินธุ์. 2542. ขี้เหล็ก สมุนไพรคลำยเครียด. หมอชำวบ้ำน 21(241): 58-59.
กัญจนำ ดีวิเศษ, ศักดิ์ชัย โปรดธนำสำร, จิรำภรณ์ ภิญโญชูโต และไฉน น้อยแสง. 2542. ผัก
พื นบ้ำนภำคเหนือ. โรงพิมพ์องค์กำรสงเครำะห์ทหำรผ่ำนศึก, กรุงเทพฯ.
กรมส่งเสริมกำรเกษตร. 2556. พันธุ์กล้วยนำว้ำเขียว. แหล่งที่มำ: https://bananath.wordpress.com/2013/07/30, 7 กรกฎำคม 2562.
_________________. 2562. กำรปลูกกล้วย. แหล่งที่มำ:
http://www.servicelink.doae.go.th/webpage/book%20PDF/fruit/f003.pdf,3 กรกฎำคม 2562.
กรมวิชำกำรเกษตร. 2559. กล้วย. แหล่งที่มำ:
http://www.doa.go.th/hort/images/stories/statushort/hy2557/banana.pdf, 2 มิถุนำยน 2562.
กรมศุลกำกร. 2558. สถิติกำรเกษตรของประเทศไทย. แหล่งที่มำ: http://organic.dit.go.th/FILE/CONTENT_FILE/256010251137581209704.pdf, 1 มิถุนำยน 2562.
กองโภชนำกำร กรมอนำมัย กระทรวงสำธำรณสุข. 2544. ตำรำงแสดงคุณค่ำทำงโภชนำกำร
อำหำรไทย (ปรับปรุงครั งที่ 3). กระทรวงสำธำรณสุข, กรุงเทพฯ.
เจษฎำภรณ์ สำยเหนือ, นฤมล หล้ำสงค์ และสรวงสวรรค์ นำคยุติ. 2560. กำรศึกษำและเปรียบเทียบ วิธีบ่มกล้วยนำว้ำด้วยใบขี เหล็ก และก๊ำซเอทิลีน (C2H4). วิทยำลัยเทคนิคจังหวัดศรีสะเกษ
ณัฐธัญ แสนบัวผัน. 2548. ฤทธิ์ลดระดับกลูโคสในเลือดของสำรสกัดใบขี เหล็กและผลต่อลักษณะ ทำงจุลพยำธิสภำพของตับอ่อนและตับในหนูแรทเบำหวำน. ปริญญำโท, มหำวิทยำลัยขอนแก่น.
โชคชัย ดำทรัพย์ และรำตรี บุษมี. 2560. กำรหำปริมำณวิตำมินซีในกล้วยบำงชนิดโดยเทคนิค HPLC และ UV-Visible. คณะวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี มหำวิทยำลัยรำชภัฏ กำแพงเพชร.
ไทยเกษตรศำสตร์. 2557. กำรสุกของผลไม้. แหล่งที่มำ: https://www.thaikasetsart.com/, 3 กรกฎำคม 2562.
เบญจมำศ ศิลำย้อย. 2548. พันธุ์กล้วยเมืองไทย. แหล่งที่มำ: http://www.eto.ku.ac.th/neweto/e-book/plant/tree_fruit/banathai.pdf, 5 มิถุนำยน 2562.
ประชำสัมพันธ์สำนักงำนเกษตรจังหวัดสมุทรปรำกำร. 2561. ข่ำวเตือนกำรระบำดศัตรูพืช. แหล่งที่มำ: http://www.samutprakan.doae.go.th/html/document/announcenews/280562_ 1.pdf, 7 มิถุนำยน 2562.
ปัญญำ ไพศำลอนันต์. 2553. ลักษณะทั่วไป กินกล้วยช่วยชีวิต. แบงค์คอกบุ๊คส์, กรุงเทพฯ.
พัชรำภรณ์ วชิรศิริ. 2550. กำรสกัดใยอำหำรจำกเปลือกกล้วยนำว้ำ. วิทยำนิพนธ์วิทยำศำสตร
มหำบัณฑิต, ภำควิชำคหกรรมศำสตร์ มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์.
ภัณฑิลำ อุดร. 2557. กำรใช้สำรสังเครำะห์ที่มีสมบัติคล้ำยเอทิลีนบ่มผลไม้. สำขำชีววิทยำ. สถำบัน ส่งเสริมกำรสอนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี.
มหำวิทยำลัยแม่โจ้. 2559. กำรผลิตกล้วย Musa spp.(Musaceae). แหล่งที่มำ: lms.mju.ac.th/courses/121/locker/1กล้วย.doc, 4 มิถุนำยน 2562.
มูลนิธิโตโยต้ำประเทศไทย. 2541. มหัศจรรย์ผัก108. มหำวิทยำลัยมหิดล, กรุงเทพฯ.
รำชบัณฑิตยสถำน. 2538. อนุกรมวิธำนพืช อักษร ก. สำนักงำนรำชบัณฑิตสภำ, กรุงเทพฯ.
เรณู เทพประกำร. 2542. กำรศึกษำกำรประเมินรำคำใบกระถินยักษ์สด. สถำบันรำชภัฎ
เชียงใหม่.
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนำอำชีพกำรเกษตร. 2560. โรคและแมลงศัตรูกล้วยในแปลงปลูกและกำร ป้องกัน กำจัด. แหล่งที่มำ: http://www.aopdt04.doae.go.th/KM/KM%202560%20- %20PPT.pdf, 10 มิถุนำยน 2562.
สมฤดี ไทพำณิชย์ และธิดำรัตน์ แย้มอำษำ. 2553. คุณลักษณะของเอนไซม์พอลิฟีนอลออกซิเดสใน กล้วยน้ำว้ำ Musa sapientum Linn. วำรสำรเทคโนโลยีกำรอำหำร 5 (1): 54-63.
สำยชล เกตุษำ. 2549. กำรบ่มผลไม้ให้สุก. วำรสำรรำชบัณฑิตยสถำน 31 (4): 1177-1186.
สวนเกษตรผสมผสำน. 2562. หนอนม้วนใบ. แหล่งที่มำ: http://www.kasetkawna.com/article/, 28 มิถุนำยน 2562.
สำนักงำนเกษตรจังหวัดบึงกำฬ. 2561. โรคใบจุด. แหล่งที่มำ: http://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER11/DRAWER016/GENERAL/DATA 0000/00000824.PDF, 4 มิถุนำยน 2562.
สำนักงำนเกษตรจังหวัดสมุทรปรำกำร. 2561. เกษตรปำกนำเตือนภัยกำรระบำดด้วงงวงกล้วย. แหล่งที่มำ: www.samutprakan.doae.go.th, 28 มิถุนำยน 2562.
สำนักงำนข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศำสตร์ มหำวิทยำลัยมหิดล. 2555. กล้วย. แหล่งที่มำ: http://medplant.mahidol.ac.th, 10 มิถุนำยน 2562.
สำนักงำนคณะกรรมกำรวิจัยแห่งชำติ. 2553. กำรผลิตกล้วยนำว้ำ และกำรแปรรูป. แหล่งที่มำ: http://www.agi.nu.ac.th/postharvest/downloads/upload_file/281118140156_B anana.pdf, 10 มิถุนำยน 2562.
สุธิดำ อัญญะโพธิ์. 2548. กล้วย ผลไม้มำกคุณประโยชน์. แฟ้มประมวลสำรสนเทศเฉพำะเรื่อง 20 (218): 45-56.
สุนันทำ คะแนนนอก. 2556. กำรพัฒนำผลิตภัณฑ์เปลือกกล้วยนำว้ำเพื่อสุขภำพ.
คณะวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี มหำลัยรำชภัฎพระนครศรีอยุธยำ.
สุพจน์ ปิ่นพงษ์. 2538. กำรบ่มกล้วยไข่ด้วยแคลเซียมคำร์ไบด์ และเอทธีลีน. ปัญหำพิเศษปริญญำ โท, มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์.
สุภำพรรณ ธรรมสุวรรณ. 2538. ผลของแคลเซียมคำร์ไบด์ และเอททิลีนในกำรบ่มกล้วยหอม แกรนด์เนน. ปัญหำพิเศษปริญญำโท, มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์.
สุริยำ วงศ์เผ่ำสกุล. 2560. ฤทธิ์สงบนิ่งของปลำดุกอุยเทศ และฤทธิ์ต้ำนทำนของแบคทีเรียสำรสกัดจำกกำนพลูและใบขี เหล็ก. ปริญญำวิทยำศำสตรมหำบัณฑิต, มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี.
อะฟันดี ปูยุด และคอรีเยำะ ยำมำตี. 2553. ศึกษำกำรบ่มกล้วยนำว้ำโดยใช้วัสดุดุที่ต่ำงชนิดกัน.
ประกำศนียบัตรวิชำชีพ, วิทยำลัยประมงจังหวัดปัตตำนี.
เอกสิทธิ์ นุกูลเจริญลำภ. 2562. กำรศึกษำใบไม้แห้งใช้เพื่อลดกำลังงำนคลื่นไมโครเวฟ สำหรับกำร
บ่มผลมะม่วงดิบ. Rattanakosin Journal of Science and Technology1(1): 12-19.
Bray, R. A. 1994. Diversity within tropical tree and shrub legumes. In: Forage tree
legumes in tropical agriculture, (Gutteridge R.C. and Shelton H.M.). CAB
International, Wallingford. pp. 111-119.
Castellanos, D. A. and Algecira, N. A. 2012. Modelling change in color and firmness of baby banana (Musa acuminata AA) in modified atmosphere packaging. Agronomia Colombiana 30(1): 84-94.
Gowri, S., Jeevitha, P. and Shadeesh, L. 2017. Nutritional analysis of Musa acuminata. Journal of Food and Dairy Technology 5(4): 2347-2359.
Liu, X., Shiomi, S., Nakatsuka A., Kubo Y., Nakamura R. and Inaba A. 1999. Characterization of ethylene biosynthesis associated with
ripening in banana fruit. American Society of Plant Physiologists 121: 1257- 1265.
Reginio, Jr. F. C., Ketnawa, S., Shiina, T. and Ogawa, Y. 2018. Effect of maturity on in vitro starch digestibility of Saba banana [Musa ‘saba’(Musa acuminata x Musa balbisiana)]. Journal of Food Science and Agricultural Technology 4: 23- 28.
Vendirll, M. and MeGlasson, W.B. 1971. Inhibition of ethylene production in banana fruit tissue by ethylene treatment. Australian Journal of Biological Sciences 24: 885-895.
|