- ชื่อเรื่อง : อิทธิพลของสารควบคุมการเจริญเติบโต และน้าตาลชนิดต่างๆ ต่อการเพิ่มปริมาณหม่อนเวียดนาม GQ2
- title : INFLUENCE OF GROWTH REGULATORS AND VARIOUS TYPES OF SUGAR TO INCREASE THE VOLUME OF VIETNAMESE MULBERRY GQ2
- ผู้แต่ง : นายภูวนัตถ์ กองสัมฤทธิ์
อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ณัฐพงค์ จันจุฬา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ประธานหลักสูตร : อาจารย์ ดร.ราชาวดี ยอดเศรณี ปีการศึกษา : 2562 - บทคัดย่อ :
หม่อนเป็นพืชเศรษฐกิจชนิดหนึ่งที่สร้างประโยชน์ได้หลายหลาย เช่น ชาใบหม่อน หม่อนทานผล แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ แต่การขยายพันธุ์ส่วนใหญ่มักใช้ท่อนพันธุ์ในการขยายพันธุ์ แต่หม่อนหลายชนิดขยายพันธุ์ด้วยการปักช้าจะเจริญเติบโตช้า ส่วนใหญ่จะใช้วิธีการติดตา แต่ต้องมีความช้านาญ แต่อีกวิธีที่จะขยายพันธุ์หม่อนได้รสดเร็ว คือ การเพาะเลี ยงเนื อเยื่อ ซื่งในการทดลองครั งนี ได้ท้าการศึกษาอิทธิพลของสารควบคุมการเจริญเติบโต และน้าตาลชนิดต่างๆ ต่อการเพิ่มปริมาณหม่อนเวียดนาม GQ2 โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ แบ่งออกเป็น 2 การทดลองคือ การศึกษาผลของ BA ที่ระดับความเข้มข้น 0.50-2.50 มิลลิกรัมต่อลิตร NAA 0.50 มิลลิกรัมต่อลิตร และผงถ่าน 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร ต่อการเจริญเติบโตของเวียดนาม GQ2 และผลของน้าตาลกลูโคส ซูโครส และฟรักโทสต่อการเจริญเติบโตของหม่อน พบว่าสูตรอาหาร MS ที่เติม BA 1.00 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนยอดและจ้านวนรากมากที่สุด และน้าตาลซูโครสเหมาะสมที่สุดที่น้ามาเพาะเลี ยงหม่อนเวียดนาม GQ2
- เอกสารอ้างอิง :
เจนจิรา ชุมภูคา, นนทกร พรธนะวัฒน์, ณัฐพงค์ จันจุฬา, ณรงค์ชัย พิพัฒน์ธนวงศ์, เบ็ญจารัช ทองยืน และ มาริษา สุขปานแก้ว. 2559. การเพาะเมล็ดมัลเบอร์รี่ในสภาพปลอดเชื้อ. Thai Journal of Science and Technology 5 (3): 265-272.
ธวัชชัย วรรธนะวลัญช์. 2532. กำรขยำยพันธุ์และกำรเก็บรักษำพันธุ์ขนุนในสภำพปลอดเชื้อ. วิทยานิพนธ์ปริญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
นิพนธ์ ทวีชัย. 2550. กำรควบคุมกำรเจริญเติบโต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
นิรนาม, 2560. สมุนไพรสะระแหน่ญี่ปุ่น แหล่งที่มา: http://www.คลังสมุนไพร.com, 10 มิถุนายน 2561
ปวิณ ภิรมย์ 2553. กำรเพำะเลี้ยงเนื้อเยื่อ. โครงการประกวดสื่อดิจิทัลเพิ่มการเรียนรู้ ครั้งที่ 3, ไทยกู๊ด ดอทคอม. แหล่งที่มา: http://www.freewbs.com/sakesan/min_issue.htm, 10 มิถุนายน 2561.
พัชรียา บุญกอแก้ว. 2560. สำรควบคุมกำรเจริญเติบโตในพืชสวน. สหมิตรพริ้นติ้งแอนด์พับลิชซิ่ง, กรุงเทพฯ.
พีรเดช ทองอาไพ. 2537. ฮอร์โมนพืชและสำรสังเครำะห์. วิชัยการพิมพ์, กรุงเทพฯ.
ภพเก้า พุทธรักษ์. 2555. กำรขยำยพันธุ์บอนสีกุหลำบหินและคว่ำตำยหงำยเป็น. มหาวิทยาลัยพะเยา, พะเยา.
มณฑล สงวนเสริมศรี, รัฐพร จันทร์เดช, พีระวุฒิ วงศ์สวัสดิ์, วารุด อยู่คง และ ภพเก้า พุทธรักษ์. 2556. ผลร่วมของ naphthalenecetic acids กับ benzyladenine ต่อการเพิ่มจานวนของ ยอดผักโขม. วำรสำรนเรศวรพะเยำ 6(3): 202-206
ยงศักดิ์ ขจรผดุงกิตติ และอัญชลี จาละ. 2557. อิทธิพลของ BA และ NAA ที่มีผลต่อการการเพิ่มจานวน ยอดต้นพรมมิโดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ, Thai Journal of Science and Technology. 3 (1): 7-14
วสันต์ นุ้ยภิรมย์. 2546. หม่อนรับประทำนผลและกำรแปรรูป. สถาบันวิจัยหม่อนไหม กรมวิชาการ เกษตรกระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ.
ศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตต์ พระบรมราชนีนาถ. 2550. หม่อนเชียงใหม่ 60. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, เชียงใหม่.
สมพร ประเสริฐส่งสกุล. 2552. กำรเพำะเลี้ยงเนื้อเยื่อกำรเพำะเลี้ยงเนื้อเยื่อและกำรปรับปรุงพันธุ์พืช. โฟร์เพช, กรุงเทพฯ.
สุลักษณ์ แจ่มจารหัส. 2553. กำรเพำะเลี้ยงเนื้อเร่วหอม. สถานบันวิจัยและพัฒนากาแพงแสน, นครปฐม.
อรุณี ม่วงแก้วงาม. 2557. ผลของสำรควบคุมกำรเจริญเติบโตต่อกำรเพำะเลี้ยงเนื้อเยื่อดำหลำ. ภาควิชา เทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา, ยะลา.
อุไรวรรณ นิลเพ็ชร์. หม่อน (Mulberry) : พืชมำกประโยชน์. ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตรกาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. แหล่งที่มา: https//www.rdi.ku.ac.th/kufair50/.htm, 10 มิถุนายน 2562.
Chen, T.Y., J.T. Chen and W.C. Chang. 2004. Plant regeneration through direct shoot bud formation from leaf cultures of Paphiopedilum orchid. Plant Cell, Tissue and Organ Culture (76): 11-15.
Chitra, D.S.V and G. Padmaja. 2005. Shoot regeneration via direct organogenesis from in vitro derived leaves of mulberry using thidiazuron and 6- benzylaminopurine. Scientia Horticulrtruae 106(4): 593-602.
Mohammad A., F. Mohammad and S. K. Singh 2003. Micropropagation of Mulberry (Morus alba L.) Through In vitro Culture of shoot tip and Nodal Explants. Plant Tissue Culture Laboratory, Department of Botany, Aligarh Muslim University, Aligarh.
Murashige, T. and F. Skoog. 1962. A revised medium for rapid growth and bop-assays with tobacoo tissue cultures. Physiologia Plantarum 15: 473-497.
Vietnam Sericulture Research Instilute. 2015. Researched and produced successfully the GQ2 mulberry variety. Hanoi Veitnam. Available Source: http://vister.vn/new-technologies- and-products/245-mublberry-gq2.html. June 10, 2019.
|