- ชื่อเรื่อง : ผลของความร้อนต่อการทาลายการพักตัวของเมล็ดงาแดงพันธุ์อุบลราชธานี2
- title : Effect of Heat on Breaking Seed Dormancy in Red Sesame Cultivar Ubon Ratchathani 2
- ผู้แต่ง : นางสาวมณีรัตน์ เครือเพ็ง
อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมาพร เรืองสังข์ หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ประธานหลักสูตร : อาจารย์ ดร.ราชาวดี ยอดเศรณี ปีการศึกษา : 2564 - บทคัดย่อ :
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลของอุณหภูมิและเวลาในการทาลายการพักตัวด้วยความร้อนในห้องปฏิบัติการและโรงเรือนทดลอง 2) เพื่อศึกษาการเจริญเติบโตของต้นกล้าหลังการทาลายการพักตัวด้วยความร้อนในห้องปฏิบัติการและโรงเรือนทดลอง 3) เพื่อวิเคราะห์วิธีการที่เหมาะสมในการทาลายการพักตัวของเมล็ดงาแดงอุบลราชธานี 2 ด้วยความร้อน โดยวางแผนการทดลองแบบ CRD มี 4 ซ้า 6 กรรมวิธีคือ 1) การให้ความร้อนแก่เมล็ดโดยการตากแดดจัด 3-4 แดด (29 – 37 องศาเซลเซียส) 2) อบลมร้อนด้วยเครื่อง hot air oven 45 องศาเซลเซียส นาน 48 ชั่วโมง 3) อบลมร้อนด้วยเครื่อง hot air oven 45 องศาเซลเซียส นาน 72 ชั่วโมง 4) อบลมร้อนด้วยเครื่อง hot air oven 70 องศาเซลเซียส นาน 48 ชั่วโมง 5) อบลมร้อนด้วยเครื่อง hot air oven 70 องศาเซลเซียส นาน 72 ชั่วโมง และ 6) เมล็ดที่ไม่ผ่านการทาลายการพักตัว พบว่า การทาลายการพักตัวของเมล็ดงาแดงอุบลราชธานี 2 ที่ทดสอบในห้องปฏิบัติการและในโรงเรือนด้วยการอบลมร้อนที่ 70 องศาเซลเซียส นาน 48 ชั่วโมง และ 70 องศาเซลเซียส นาน 72 ชั่วโมง ทาให้มีเปอร์เซ็นต์ความงอกและดัชนีการงอก ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ โดยการทดสอบในห้องปฏิบัติการอบที่เวลา 48 ชั่วโมง ทาให้มีเปอร์เซ็นต์ความงอกและดัชนีการงอกมากกว่าการอบที่ 72 ชั่วโมง คือ เปอร์เซ็นต์ความงอก 67.00 และ 65.00 เปอร์เซ็นต์ และดัชนีการงอก 2.79 และ 2.71 ตามลาดับ สาหรับการทดสอบในโรงเรือน การอบลมร้อนที่ 70 องศาเซลเซียส 48 ชั่วโมง ทาให้เมล็ดงอกน้อยกว่า แต่งอกได้เร็วกว่า (เปอร์เซ็นต์การงอก 99 % และ ดัชนีการงอก 1.76) เมื่อเปรียบเทียบกับการอบที่อุณหภูมิเดียวกัน แต่ใช้เวลา 72 ชั่วโมง (เปอร์เซ็นต์ความงอก 100% และดัชนีการงอก 1.70) สาหรับเมล็ดที่ไม่ผ่านการทาลายการพักตัว ทดสอบในห้องปฏิบัติการมีเปอร์เซ็นต์ความงอกอยู่ที่ 48.00 เปอร์เซ็นต์ ดัชนีการงอกอยู่ที่ 2.00 และทดสอบในโรงเรือนทดลองมีเปอร์เซ็นต์ความงอกอยู่ที่ 63.00 เปอร์เซ็นต์ ดัชนีการงอกอยู่ที่ 1.12 ตามลาดับ
- เอกสารอ้างอิง :
กรมวิทยาศาสตร์บริการ. 2563. งา: ธัญพืชมากคุณประโยชน์. แหล่งที่มา: http://www.sptn.dss.go.th/otopinfo/index.php/en/knowledge/interesting-articles/345-2020-01-09-0 3-30-08. 4 เมษายน 2564.
กองบรรณาธิการเกษตรกรรมธรรมชาติ. 2545. งาอาหารต้านทานโรคบารุงผิวพรรณ-ยาอายุวัฒนะ น้ามันงา. เกษตรธรรมชาติ 2545(1): 15 – 17.
กิตติคุณ ปิตุพรหมพันธุ์. 2564. การอบแห้งเมล็ดพันธุ์ข้าวเปลือกโดยเครื่องอบแห้งแบบปั๊มความ ร้อน. แหล่งที่มา: https://li01.tcithaijo.org/index.php/scimsujournal/article/view /19412. 24 มีนาคม 2564.
จวงจันทร์ ดวงพัตรา. 2529. เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กลุ่มหนังสือเกษตร, กรุงเทพฯ.
จินดารัฐ วีระวุฒิ และ อัญชุลี คชชา. 2564. งาพันธุ์ดีของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. แหล่งที่มา: www3.rdi.ku.ac.th/exhibition/53/group06/jindarat_vee01/index_01.html. 4 เมษายน 2564.
เทคโนโลยีชาวบ้าน. 2561. อุบลราชธานี 3 งาดาเมล็ดโต ถูกใจตลาด. แหล่งที่มา: https://www.technologychaoban.com/agricultural-technology/article_86715. 4 เมษายน 2564.
เทคโนโลยีชาวบ้าน. 2562. เกษตรจังหวัดกระบี่ เตือนเกษตรกรเฝ้าระวัง ไรขาวพริก. แหล่งที่มา: https://www.technologychaoban.com/uncategorized/article_130903 . 5 เมษายน 2564.
เทคโนโลยีชาวบ้าน. 2563. เตือน หนอนห่อใบงาระบาด. แหล่งที่มา: https://www.technoLogy
chaoban.com/agricultural-technology/article_148519. 4 เมษายน 2564.
ไทยเกษตรศาสตร์. 2556. โรคเหี่ยวที่เกิดจากเชื้อราVerticillium. แหล่งที่มา: www.thaikasetsart.com/โรคเหี่ยวจากเชื้อรา/. 8 เมษายน 2564.
บ้านจอมยุทธ. 2543. การปลูกงาและการดูแลรักษา. แหล่งที่มา: www.baanjomyut.com/library_
5/agricultural_knowledge/farm_products/42_2.html. 5 เมษายน 2564.
ปราณี แสนวงค์. 2552. การพัฒนาของเมล็ดพันธุ์และการทาลายการพักตัวของเมล็ดพันธุ์บวบ หอม. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์. 2564. Food Network Solution. แหล่งที่มา: www.foodnetworksolution.com/wiki/word/2073/sesame. 5 เมษายน 2564.
พิสิฐ พรหมนารท. 2564. การพักตัวของเมล็ดข้าววัชพืช. แหล่งที่มา: https://tarr.arda.or.th/pre
view/item/13543?keyword=%25E0%25B8%2582%25E0%25B9%2589%25E0%2 5B8%25B2%25E0%25B8%25A7. 22 มีนาคม 2564.
ภัคศจี ศรีสาราญ. 2552. การทาลายการพักตัวของเมล็ดงูโดยการใช้สาร GA3 KNO3 และการ ใช้ความร้อน. ปัญหาพิเศษปริญญาตรี, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
มนทนา รุจิระศักดิ์. 2536. วิทยาการเมล็ดพันธุ์พืชไร่. ภาควิชาพืชศาสตร์. คณะเกษตรศาสตร์ นครศรีธรรมราช, สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล.
เยาวนาถ หาดคา. 2549. การศึกษาลาดับนิวคลีโอไทด์ของยีน 16S rDNA ของเชื้อไฟโตพลาสมา สาเหตุโรคแตกพุ้มฝอยของงา. ปัญหาพิเศษปริญญาตรี, มหาวิยาลัยเกษตรศาสตร์.
รักบ้านเกิด. 2557. โรคเน่าดา Black rot. แหล่งที่มา: www.rakbankerd.com /agriculture/ print.php?id=8104&s=tblplant. 5 เมษายน 2564.
วัชรี เลิศมงคล และ วาสนา วงษ์ใหญ่. 2564. งานวิจัยด้านพืช. แหล่งที่มา: http://www.3.rdi.ku.ac.th/ exhibition/50/plant/36plan.thm#author. 5 มีนาคม 2564.
วันชัย จันทร์ประเสริฐ. 2553. สรีรวิทยาเมล็ดพันธุ์ ปรับปรุงใหม่ พ.ศ. 2553. ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
วันชัย จันทร์ประเสริฐ์ และเสาวรี ตังสกุล. 2544. การเปลี่ยนแปลงความชื้นและความงอกใน ระหว่างเก็บรักษาของเมล็ดงา 3 พันธุ์ ภายใต้สภาพความชื้นสัมพัทธ์ 4 ระดับ, น. 250 – 263. ใน รายงานการประชุมวิชาการ งา ทานตะวัน ละหุ่ง และคาฝอยแห่งชาติ ครั้งที่ 2. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
วัลลภ สันติประชา. 2540. เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์. พิมพ์ครั้งที่ 3. ภาควิชาพืชศาสตร์. คณะทรัพยากรธรรมชาติ. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, สงขลา.
วาสนา วงษ์ใหญ่. 2550. งา พฤกษศาสตร์ การปลูก ปรับปรุงพันธุ์และการใช้ประโยชน์. ภาควิชา พืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพมหานคร. 260 หน้า.
วิชาการเกษตร ปลูกผัก ทาไร่ ไถนา. 2559. วิธีการปลูกงาดา. แหล่งที่มา: https://www.vichakaset.com/วิธีการปลูกงาดา. 8 เมษายน 2564.
วิมล แก้วสีดา. 2557. การเพิ่มประสิทธิภาพการงอกของเมล็ดพันธุ์ปัญจขันธ์พันธุ์สิบสองปันนา. กลุ่มงานวิจัยศูนย์วิจัยพืชสวนเชียงราย. สถาบันวิจัยพืชสวน.
ศจี เชาว์ดาริห์กุล. 2556. การทาลายการพักตัวของเมล็ดพันธุ์บวบหอมโดยการขัดเปลือกเมล็ด และความร้อนแห้ง. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท,มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ศรีมกุฎ วิชชวุต. 2527. การพัฒนาและการสุกแก่ของเมล็ดบวบเหลี่ยม. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ศิริพร พงศ์ศุภสมิทธิ์ และกัลยา อุทาโย. 2557. การทาลายการพักตัวของเมล็ดถั่วลิสง 3 พันธุ์ใหม่. วารสารวิจัยและ ส่งเสริมวิชาการเกษตร 31(2): 12-21.
ศิริรัตน์ กริชจนรัช, สายสุนีย์ รังสิปิยะกุล, กัลยารัตน์ หมื่นวนิณิชกูล, จุรัตน์ หวังเป็น, สมหมาย วันทอง และสมพงษ์ ชมภูนุกูลรัตน์. 2557. การศึกษาการพักตัวของเมล็ดพันธุ์งาแดงสาย
พันธุ์ A30-15. กลุ่มงานวิจัยศูนย์วิจัยพืชไร่อุบลราชธานี. สานักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 4. กรมวิชาการเกษตร.
ศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์. 2559. หนอนผีเสื้อหัวกะโหลกในงา. แหล่งที่มา: https://www.doa.go.th/fc/nakhonsawan/?p=2106. 8 เมษายน 2564.
สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร. 2564. งา. แหล่งที่มา: www.ubu.ac.th /web/files_up/49f2019021409375782.pdf. 5 เมษายน 2564.
สรรพคุณสมุนไพร 200 ชนิด. 2564. กลุ่มยารักษาหูดงา. แหล่งที่มา: http://www.rspg.or.th/plants_data/herbs/herbs_24_1.htm. 5 เมษายน 2564.
สรายุทธิ์ ไทยเกื้อ ทวีศักดิ์ ชื่นปรีชา และพิมพาพร พลเสน. 2550. วิธีการทาการพักตัวที่เกิดจาก เปลือกหุ้มเมล็ดแข็งของเมล็ดพันธ์ถั่วอาหารสัตว์เขตร้อนบางชนิด, น. 35-50. ใน รายงาน ผลการวิจัยกองอาหารสัตว์ประจาปี พ.ศ. 2550 กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์. สถานีพัฒนาอาหารสัตว์มหาสารคาม, มหาสารคาม.
สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2555. สถิติการเกษตรของประเทศไทย ปี 2555. สานักงาน เศรษฐกิจการเกษตร กระทรงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพมหานคร. 36 หน้า.
สุจินต์ เจนวีรวัฒน์. 2564. งาพันธุ์ดีของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยีการผลิตงา. แหล่งที่มา: file:///C:/Users/Administrator/Downloads/KUJ00000438c.pdf. 4 เมษายน 2564.
สุชีวิน ตินตะชาติ. 2557. การเปรียบเทียบวิธีการต่างๆ ในการแก้การพักตัวของเมล็ดพันธุ์ฟักข้าว. วิทยานิพนธ์ปริญญาตรี. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
โสภิตา อิศรางกูร ณ อยุธยา อาไพวรรณ ภราดร์นุวัฒน์ และศรีเมฆ ชาวโพงพาง. 2559. การสารวจ และตรวจสอบเชื้อไฟโตพลาสมาในไม้ดอกไม้ประดับและพืชเศรษฐกิจ, น. 54 – 60. ใน การ ประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ครั้งที่ 54. ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อนันตกร เทพหัสดิน ณ อยุธยา. 2536. การเปลี่ยนแปลงของสารคล้าย Gas และสาร ABA ระหว่าง การพัฒนาและเก็บรักษาของเมล็ดพันธุ์แตง. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อภิชาต เกิดผล. 2563. การปลูกงา. แหล่งที่มา: http://eto.ku.ac.th/neweto/ebook/plant/rice/nga2.pdf. 13 พฤศจิกายน 2563.
อริยาภรณ์ พงษ์รัตน์. 2556. งา: การผลิต การปรับปรุงพันธุ์ และการแปรรูป. พิมพ์ครั้งที่ 1. คณะ เกษตรศาสตร์. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. อุบลราชธานี.
Accu Weather. 2020. Accu Weather เมืองลพบุรี. แหล่งที่มา: https://www.accuweather.
com/th/th/mueang-lop-buri/319052/august-weather/319052?year=2020.11 กุมภาพันธ์ 2564.
Banjomyut. 2563. การปลูกงาและการดูแลรักษา. แหล่งที่มา: https://www.baanjomyut.com
/library_5/agricultural_knowledge/farmproducts/42_4.html. 11 กุมภาพันธ์ 2564.
Copeland, L.O. and McDonald, M.B. 2001. Principles of Seed Science and Technology. 4th ed. Kluwer Academic, Massachusetts.
Groot, S.P.C. and Karssen, C.M. 1992. Dormancy and germination of abscisic acid-deficient tomato seeds: Studies with the sitiens mutant. Plant Physiology. 99: 952-958.
ISTA. 2007. International Rules for Seed Testing. 3th ed. Bassersdorf: The International. Seed Testing Association.
Kasethub. 2020. สินค้าเกษตร "รอบตัว ทั่วไทย". แหล่งที่มา: https://www.kasethub.co.th/งา ขาว-คัดเกรดคุณภาพขายราคาพิเศษ.html. 8 เมษายน 2564.
Keim, P., Diers, B.W. and Shoemaker, R.C. 1990. Genetic analysis of soybean hard Seededness with molecular markers. Theoretical and Applied Genetics 79: 465-469.
Khan, A.A. 1980. The Physiology and Biochemistry of Seed Dormancy and Germination 2 nd ed. Elsevier, Netherlands.
Limsakdakul. 2015. งาแดง. แหล่งที่มา: http://www.limsakdakul.com/product/brown- sesame/?lang=TH. 8 เมษายน 2564.
MGR Online. 2009. งาดาเมล็ดจิ๋วประโยชน์แจ๋ว. แหล่งที่มา: https://mgronline.com/qol/detail/9520000115117. 8 เมษายน 2564.
Nyo, H.P., Htwe, N.N., Thu, M.K., Myint, T. and Win, K.K. 2019. Heat Treatment to Break Seed Dormancy of Pre- and Post-MonsoonSesame (Sesamum indicum L.). Journal of Agricultural Research 6 (2). :138 – 145.
Porter, N.G. and Wareing P.F. 1974. The role of the oxygen permeability of the seed coat in the dormancy of seed of Xanthium pennsylvanicum Wallr. Journal of Experimeental Botany 25: 583-594.
Salanenka Y.A., Goffinet M.C. and Tayloy A.G. 2009. Structure and Histochemistry of themicropylar and chalazal regions of the perisperm–endosperm envelope of cucumber seeds associated with solute permeability and germination. Journal of American Society for Horticultural Science 134: 479-487.
Sites. 2020. เทคนิคการปลูก และดูแล งา ให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ. แหล่งที่มา: https://sites.google.com/site/wkestrnarulike191/thekhnikh-kar-pluk-laea-dulae- nga-hi-di-phlphlit-thimi-khunphaph. 11 กุมภาพันธ์ 2564.
Yim, K.O. and Bradford, K.J. 1998. Callose deposition is responsible for apoplastic semipermeability of the endosperm envelope of muskmelon seeds. Plant Physiology 118: 83–90.
|