- ชื่อเรื่อง : การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาของโหระพาประดับพันธุ์ ฟอลรอลสไปเรส ไวท์
- title : A STUDY ON MORPHOLGY OF ORNAMENTAL BASIL FLORAL SPIRES WHITE
- ผู้แต่ง : นางสาวเพียรกุล เพ็งกุน
อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ประธานหลักสูตร : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา ปีการศึกษา : 2564 - บทคัดย่อ :
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอัตราการรอดชีวิตของโหระพาประดับ พันธุ์ฟอลรอล สไปเรส ไวท์ การเจริญเติบโต ศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยาของโหระพาประดับ พันธุ์ฟอลรอล สไปเรส ไวท์ และศึกษาผลของรังแกมมาที่มีต่อการงอกของเมล็ดโหระพาประดับ วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design(CRD) แบ่งออกเป็น 3 กรรมวิธี (Treatment) กรรมวิธีละ 4 ซ้้า (ซ้้าละ 25 ต้น) กรรมวิธีที่ 1 เมล็ดที่ไม่ผ่านการฉายรังสีแกมมา กรรมวิธีที่ 2 เมล็ดที่ผ่านการฉายรังสีแกมมาเฉียบพลันที่ 500 เกรย์ กรรมวิธีที่ 3 เมล็ดที่ผ่านการฉายรังสีแกมมาเฉียบพลันที่ 600 เกรย์ หลังจากการฉายรังสีแกมมา พบว่าหลังจากการเพาะเมล็ดที่ 1 สัปดาห์ 2 สัปดาห์ และ 3 สัปดาห์ การรอดของเมล็ดลดลงอย่างมีนัยส้าคัญยิ่งเมื่อเปรียบเทียบกับเมล็ดที่ไม่ฉายรังสีแกมมา หลังการเพาะเมล็ดที่ 1 สัปดาห์ พบว่า โหระพามีการรอดชีวิตเมล็ดที่ไม่ได้รับการฉายรังสีแกมมา (control) อยู่ที่21.25±1.93 เปอร์เซ็นต์ ฉายรังสีแกมมา 500 เกรย์ อยู่ที่17.50 เปอร์เซ็นต์ และ 600 เกรย์ 16.25±0.8 เปอร์เซ็นต์ การรอดชีวิตที่2 สัปดาห์ พบว่า โหระพามีการรอดชีวิต เมล็ดที่ไม่ได้รับการฉายรังสีแกมมา (control) อยู่ที่19.50±1.93 93 เปอร์เซ็นต์ ฉายรังสีแกมมา 500 เกรย์ อยู่ที่ 13.25±1.25 93 เปอร์เซ็นต์ และ 600 เกรย์ 13.75±0.47 93 เปอร์เซ็นต์ และที่ 3สัปดาห์ หลังการเพาะเมล็ด พบว่า โหระพามีการรอดชีวิตเมล็ดที่ไม่ได้รับการฉายรังสีแกมมา (control) อยู่ที่ 17.00±2.16 93 เปอร์เซ็นต์ ฉายรังสีแกมมา 500 เกรย์อยู่ที่ 12.00±1.08 93 เปอร์เซ็นต์ และ 600 เกรย์ 12.25±0.85 93 เปอร์เซ็นต์ ตามล้าดับ เมื่อเปรียบเทียบกับเมล็ดที่ไม่ฉายรังสีแกมมามีเปอร์เซ็นต์การรอดชีวิตซึ่งปริมาณรังสีที่สูงเกินไปส่งผลให้โหระพาประดับมีการอัตรารอดชีวิตลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับเมล็ดที่ไม่ผ่านการฉายรังสีแกมมา(Control) และเก็บข้อมูลลักษณะสัณฐานวิทยาของต้นโหระพาประดับที่รอดชีวิต การเจริญเติบโตของต้นโหระพาประดับระยะการเจริญเติบโตเต็มที่ (120 วันหลังการย้ายปลูก) เปรียบเทียบกับโหระพาพันธุ์ไทย โดยการสุ่มวัดความสูง ความยาวใบ ความกว้างใบ จ้านวน 10 ต้น ในสัปดาห์ที่ 5 ถึงสัปดาห์ที่8 ซึ่งข้อมูล ทั้งหมดจะน้าไปใช้ประโยชน์ ในการปรับปรุงพันธุ์โหระพาต่อไป
- เอกสารอ้างอิง :
กลุ่มวิจัยโรคพืช. 2554. โรครำน้ำค้ำง หนังสือคู่มือโรคผัก. พิมพ์ครั้งที่ 2.
สานักวิจัยและพัฒนาการอารักขาพืช, กรมวิชาการเกษตร. 153 น.
กลุ่มบริหารศัตรูพืช. 2557. คู่มือกำรป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืชสำหรับกำรผลิตผักเพื่อกำรส่งออก
กลุ่มสหภำพยุโรปฉบับปรับปรุง. สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ. 53 หน้า.
ธีระ เอกสมทราเมษฐ์. 2525. กำรชักนำให้เกิดกำรกลำยพันธุ์ของถั่วเขียวโดยใช้รังสีแกมมำ.
วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
นายผัก. 2551. โหระพำ (Sweet Basil). แหล่งที่มา: https://vegetweb.com/โหระพา/. 23 เมษายน 2564.
ปวีณนุช ศรีช่วย, ธัญญะ เตชะศีลพิทักษ์, เฌอมาลย์ วงศ์ชาวจันท์, สุวิสา พัฒนเกียรติ และ อนันต์
พิริยะภัทรกิจ. 2561. ผลของรังสีแกมมำแบบเฉียบพลันต่อข้อมันเทศประดับเลื้อยในสภำพปลอดเชื้อ. กรุงเทพฯ:ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน.
ปรเมษฐ์. 2558. รังสีแกมมำ. แหล่งที่มา: https://carefood.co.th/ดูบทความ-36970 รังสีแกมมา.html. 23 เมษายน 2564 .
ผักพื้นบ้าน. 2564. โหระพา. http://areabased.lpru.ac.th/veg/www/Native_veg/v448.htm 23 เมษายน 2564.
ภคกุลวี ระบริรักษ์, ธัญญะ เตชะศีลพิทักษ์, พัฒนา สุขประเสริฐ และ อนันต์ พิริยะภัทรกิจ. 2563.
กำรฉำยรังสีแกมมำแบบเฉียบพลันต่อปทุมมำพันธุ์ลูกผสม. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต บางเขน.
มลธิดา ธิศาเวศ และ อรพินธ์ สฤษดิ์นา. 2563. ผลของกำรำยรังสีแกมมำที่มีต่อพริก.
สาขาวิชาพืชสวน คณะผลิตกรรมการเกษตร, มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วรางคณา ไตรยสุทธิ์. 2563. โหระพำ.โหระพำไร้สำรพิษ กิ่งเดียวก็เหลือกิน.
แหล่งที่มา: https://vijjaram.ac.th/organic-basil/. 6 พฤษภา 2564.
วิตตรา บุญสุภาพ. ม.ป.ป. แหล่งที่มา:https://sites.google.com/site/wichittra603/home. 23 เมษายน 2564.
สานักพิมพ์บ้านและสวน. 2563. แบซิลประดับ.
แหล่งที่มา:https://www.baanla.com/flowers13579.html. 23 เมษายน 2564.
สมาคมพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อม. 2564. โหระพำ. แหล่งที่มา: https://adeq.or.th/โหระพา/. 23 เมษายน 2564.
สานักสารวจดินและวางแผนการใช้ที่ดินกรมพัฒนาที่ดินกระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2546.
ควำมรู้เรื่องดินสำหรับเยำวชน. แหล่งที่มา: http://oss101.ldd.go.th/web_ soils_for_ youth/s_fertilizer.htm. 24เมษายน 2564.
สิรินุช ลามศรีตันทร์, อรุณี วงศ์ปิยะสถิต และ พีรนุช จอมพุก, 2552, โครงกำรถ่ำยทอดเทคโนโลยี
กำรปรับปรุงพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับโดยกำร ฉำยรังสีแกมมำ, กำรฝึกอบรม ภำควิชำรังสี ประยุกต์และไอโซโทป. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
สิรินุช ลามศรีจันทร์. 2540. กำรกลำยพันธุ์ของพืช. กรุงเทพฯ: ภาควิชารังสีประยุกต์และไอโซโทป คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
โรงดินเจริญผล. 2018. ขุยมะพร้ำว. แหล่งที่มา: https://www.โรงดินเจริญผล.com/ขุยมะพร้าว/. 24 เมษายน 2564.
Niichaphat. 2562. วิธีปลูก โหระพำ แบบง่ำยๆไว้กินเองที่บ้ำน.
แหล่งที่มา: https://decor.mthai.com/garden/63360.html. 6 พฤษภา 2564. 23 เมษายน 2564.
Prayod. 2014. โหระพำ (Sweet Basil). แหล่งที่มา: https://prayod.com/โหระพา-Sweet-basil/. 23 เมษายน 2564.
Puechkaset. 2014. แกลบ/แกลบดำ/ขี้เถ้ำแกลบ วิธีทำแกลบดำ และประโยชน์แกลบดำ.
แหล่งที่มา: https://puechkaset.com/แกลบ/. 23 เมษายน 2564.
Rabotayouth. 2021 .โหระพำ: เมื่อใดที่จะปลูกบนต้นกล้ำ วิธีปลูกใบโหระพำสำหรับต้นกล้ำ ควำมลับของกำรขึ้นต้นโปรดของมหำวิหำรบนต้นกล้ำที่บ้ำน.
แหล่งที่มา: https://rabotayouth.ru/th/bazilik-kogda-sazhat-na-rassadu-kak-pravilno-sazhat-bazilik.html. 23 เมษายน 2564.
Suankrua. 2018. พีทมอส. แหล่งที่มา: https://www.suankrua.com/สวนครัว/1383/autosave-v1/. 24เมษายน 2564.
Thospaak. 2018. เบซิล (Basil). แหล่งที่มา: https://forfarm.co/basil/. 23 เมษายน 2564.
Tswar. 2563. เมล็ดเจีย และ เมล็ดแมงลัก แตกต่ำงกันอย่ำงไรพร้อมภำพต้นทั้งสอง.
แหล่งที่มา: https://teamswong.art.blog/. 6 พฤษภา 2564.Yui_InLund. 2556. โหระพำ (ฝรั่ง).
แหล่งที่มา: https://yuiinlund.wordpress.com/2013/08/19/โหระพา-ฝรั่ง/. 6 พฤษภา 2564.
|