- ชื่อเรื่อง : ผลการจัดการน้านมดิบต่อเสถียรภาพของโปรตีนและปริมาณจุลินทรีย์ในน้านมดิบ (สหกิจศึกษา)
- title : The Effect of Raw Milk Management on Protein Stability and Microbial Content in Raw Milk
- ผู้แต่ง : นางสาวลัดดาวัลย์ พิณทอง
อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.สุภณิดา พัฒธร หลักสูตร : สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร ประธานหลักสูตร : ผู้ช่วยศาสตราจารย์วัฒนี บุญวิทยา ปีการศึกษา : 2560 - บทคัดย่อ :
น้านมโคดิบเป็นวัตถุดิบหลักที่ใช้สาหรับการแปรรูปผลิตภัณฑ์นม คุณภาพของน้านมดิบมีความสาคัญอย่างมากต่อกระบวนการแปรรูปและรวมถึงอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์อีกด้วย เสถียรภาพหรือความคงตัวของโปรตีนในน้านมสามารถใช้เป็นตัวบ่งชี้ถึงคุณภาพของน้านมได้ว่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่เหมาะสมต่อการแปรรูปหรือไม่ ปริมาณจุลินทรีย์ในน้านมเป็นปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลต่อความคงตัวของโปรตีนในน้านม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง Pseudomonas sp. ซึ่งเป็นจุลินทรีย์ที่สามารถเจริญเติบโตได้ในช่วงอุณหภูมิการเก็บรักษาน้านมดิบและยังสามารถสร้างเอนไซม์ที่ย่อยโปรตีนได้อีกด้วย การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประเด็น ประเด็นแรกคือศึกษาระยะเวลาการเก็บรักษาน้านมดิบต่อเสถียรภาพของโปรตีนและปริมาณจุลินทรีย์ โดยนาน้านมดิบที่ผ่านการประเมินคุณภาพเบื้องต้นของโรงงานมาทาการเก็บรักษา 7 ช่วงเวลาคือ 0 1 2 3 4 7 และ 8 วัน ณ อุณหภูมิ 8 oC ผลการศึกษาพบว่า ระยะเวลาการเก็บรักษาน้านมดิบ 3 วันมีปริมาณ Pseudomonas sp. เพิ่มขึ้นจากน้านมใหม่ (0 วัน) อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p ≤ 0.05) แต่ปริมาณจุลินทรีย์ทั้งหมดจะแตกต่างจากน้านมใหม่ ( 0 วัน) อย่างมีอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p ≤ 0.05) เมื่อน้านมดิบนั้นถูกเก็บรักษาเป็นเวลา 4 วัน แต่อย่างไรก็ตามน้านมดิบนี้สามารถผ่านการทดสอบความคงตัวของโปรตีนนมและสามารถนาไปแปรรูปได้ ดังนั้นประเด็นการศึกษาต่อไปจึงใช้น้านมเก่าที่มีอายุการเก็บรักษาเป็นเวลา 4 วัน นามาผสมกับนมใหม่ในสัดส่วน 100:0 75:25 50:50 และ 0:100 นาน้านมดิบดังกล่าวไปเก็บ รักษาไว้ ณ อุณหภูมิ 8 OC เป็นเวลา 0 7 และ 14 วัน ผลการศึกษาพบว่าหลังจากผสมน้านมดิบ (0 วัน) สัดส่วนของน้านมเก่าต่อน้านมใหม่มีผลต่อความคงตัวของโปรตีนนมโดยรวม แต่ไม่มีผลต่อปริมาณจุลินทรีย์ทั้งหมดและปริมาณ Pseudomonas sp. แต่เมื่อเก็บรักษาน้านมดิบนั้นไว้เป็นเวลา 7 วัน และ 14 วันพบว่าปริมาณจุลินทรีย์ทั้งหมดและปริมาณ Pseudomonas sp. เพิ่มขึ้นเมื่อสัดส่วน นมเก่าเพิ่มขึ้น อีกทั้งการนาน้านมดิบทั้ง 4 สัดส่วนไปทาการสเตอริไรซ์ พบว่าสัดส่วนของน้านมดิบเก่าต่อน้านมดิบใหม่ไม่มีผลต่อกระบวนการสเตอริไรซ์และไม่มีผลต่อทั้งความคงตัวของโปรตีน ปริมาณ จุลินทรย์ทั้งหมดและปริมาณ Pseudomonas sp. ในนมสเตอริไรซ์ตลอดการเก็บรักษาเป็นเวลา 14 วัน ณ ที่อุณหภูมิ 45oC
- เอกสารอ้างอิง :
กระทรวงสาธารณสุข. 2556. ประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับที่ 352 เรื่องผลิตภัณฑ์ของนม.นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข.
คณาจารย์ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร. 2539. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ชูศรี บารุงพฤกษ์ 2513. นมและผลิตภัณฑ์การศาสนา, พระนครศรีอยุธยา.
ดารณี หมู่ขจรพันธ์. 2536. คู่มือการผลิตนมและผลิตภัณฑ์นม.
นัทธมน ตั้งจิตวัฒนาชัย. อาณัติ จันทร์ถิระติกุล. เด่นพงษ์ สาฆ้อง. 2556. คุณภาพน้านมจากถังรวบรวมนมของเกษตรกรรายย่อยในเขตพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 38-43.
บริษัทฟรีสแลนด์คัมพีน่าเฟรช (ประเทศไทย) จากัด, ฝุายควบคุมคุณภาพ (Quality Control).
ประวีร์ วิชชุลตา ณิฐิมา เฉลิมแสน และ สุทธิศักดิ์ แก้วแกมจันทร์. 2546. สถานภาพองค์ประกอบน้านมดิบในประเทศไทย. การประชุมวิชาการโคนม เรื่องน้านมโคคุณภาพสู่ผู้บริโภค ขอนแก่น หน้า 7-14
วรรณา ตั้งเจริญชัย และ วิบูลย์ศักดิ์ กาวิละ. 2531. นมและผลิตภัณฑ์นม. กรุงเทพฯ: โอเดียน สโตร์.
สานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ. 2548. น้านมดิบ มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ มกอช 6003-2548. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กรุงเทพฯ.
สุทธิพงษ์ ลาภอนันต์. 2560. ผู้จัดการเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานและสิ่งแวดล้อม บริษัทฟรีซแลนด์คัมพิน่า เฟรช (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) สาขาสาโรง. สัมภาษณ์. 6 มีนาคม 2560. สุวิมล พันธุ์ดี และ เอกชัย สร้อยน้า. 2546. คู่มือการตรวจสอบคุณภาพน้านม.
อาภัสสรา ชมิดท์. 2537. เทคนิคอิเล็กโทรโฟรีซีส (Electrophoresis Techniques). รั้วเขียว. กรุงเทพฯ. Alexander J. Ninfa, David P. Ballou and Marilee Benore. 2010. Fundamental Laboratory Approaches for Biochemistry and Biotechnology, 2nd Edition. Hoboken nj: Wiley Print.
Barbano DM, Ma Y and Santos MV. 2006. Influence of raw milk on fluid milk shelf life.
56
Beales N. 2004. Adaption of microorganisms to cold temperatures, weak acid preservative, low pH and osmotic stress: a review. Compr Rev Food Sci F. 3: 1-20
Boitz I. Lisa and H. K. Mayer. 2017. Extended shelf life milk- One concept, different qualities:A comprehensive study on the heat load of differently processed liquid milk retailed in austria in 2012 and 2015. Int J. Food Sci. 79: 284-393.
Chavan S. R., S. R. Chavan, C. D. Khedkar and A. H. Jana. 2011. UHT milk processing and effect of plasmin activity on shelf life. Compre. Rev. Food Sci. F. 10(5): 251-268. Datta N. and H. C. Deeth. 2001. Age gelation of UHT milk - A review. Food Bioprod.Process. 79(4): 197-210.
Datta N. and H. C. Deeth. 2003. Diagnosing the cause of proteolysis in UHT milk. Lebensm-Wiss.U-Technol. 36: 173-182.
Eneroth, A., Ahrne, S. and G. Molin. 2000. Contamination routes of gram-negative spoilage bacteria in the production of pasteurized milk, evaluated by randomly amplified polymorphic DNA (RAPD). Int J. Dairy. 10: 325-331.
Farrell H. M. Jr., R. Jimenez-Flores, G.T. Bleck, E. M. Brown, J. E. Butler, L. K. Creamer, C. L. Hicks, C.M. Hollar, K. F. Ng-kwai-Hang and H. E. Swaisgood. 2004. Nomenclature of the proteins of cows’ milk-sixth revision. J. Dairy Sci. 87: 1641-1674.
Horne S. Davis and D. D. muir. 2016. Alcohol and heat stability of milkprotein. J. Dairy Sci. 73: 3613-3626.
IDF Special Issue No. 9002. 1990. Handbook on Milk Collection in Warm Developing Countries, Brussels. Int. Dairy Federation (IDF). pp. 57-68.
Moyer C. L. and R. Y. Morita. 2007. Psychrophiles and psychrotrophs. Encyclopedia of Life Science. Doi: 10.1002/9780470015902. Pub2.
Martin R., H. G. Heilig, E. G. Zoetendal, E. Jimenez, L. Fernandez, H. Smidt and J. M. Rodriguez. 2007. Cultivation-independent assessment of the bacterial diversity of breast milk among healthy women. Res Microbiol. 158:31-37.
57
Muir, D. D. 1996. The shelf-life of dairy products. 3 factors influenceing intermediate and long dairy products. J. Dairy Tech. 49: 67-72. O’Connell A , P L Ruegg, K Jordan, B O’Brien and D Gleeson. 2016. The Effect of storage temperature and duration on the microbial quality of bulk tank milk. J. Dairy Sci. 99: 3367-3374. Oliveira de B. Gislene, L., H. Favarin, R. Luchese and D. McIntosh. 2015. Braz. J. Microbiol. 46(2): 313-321.
Preecha Wethakul. 2013. Processing Milk. Prezi.https://prezi.com/3audgaatmrth/processing-milk.html. 7 มีนาคม 2560
Quigley L , O’Sullivan O , Beresford TP , Ross RP , Fitzgerald GF & Cotter PD 2011. Molecular approaches to analysing the microbial composition of raw milk and raw milk cheese. Int. J Food Microbiol. 150: 81.
Rauh M. Valentin, L. B. Johansen, R. Ipsen, M. Paulsson, L. B. Lasen and M. Hammershoj. 2014. Plasmin activity in UHT milk: relationship between proteolysis, age gelation and bitterness. J. Agric. Food Chem. 62: 6852-6860. Richard L. Wallace. 2008. Bacteria counts in raw milk. Dairy Cattle. 67-72. Russell NJ. 2002. Bacterial membranes: the effects of chill storage and food processing. An overview. Int J Food Microbiol. 79:27–34.
Sava N., I. D. Plancken, W. Claeys and M. Hendrickx. 2005. The Kinetics of heat-induced structural changes of β- lactoglobulin. J. Dairy Sci. 88: 1646-1653.
Smithwell, N. and K. Kailasapathy. 1995. Psychrotrophic bacteria in pasteurized milk-problems with shelf lif. Aust J Dairy Tech. 50: 28-31.
Sorhaug, T. and L. Stepaniak. 1997. Psychrotrophic and their enzymes in milk and dairy product: Quality aspects. Trends Food Sci Tech. 8: 35-41.
Stoeckel M., M. Lidolt, T. Stressler, L. Fischer, M. Wenningand and J. Hinrich. 2016b. Heat of stability of indigenous milk plasmin and proteases from Pseudomonas: A challenge in the production of ultra-high temperature milk products. Int. Dairy J. 61: 250-261.
58
Stoeckel M., M. Lidolt, V. Achberger, C. GlÜck, M. Krewinkel, T. Stressler, M. V. Neubeck, M. Wenning, S. Scherer, L. Fischer and J. Hinrichs. 2016a. Growth of Pseudomonas weihenstephanensis, Pseudomonas proteolytica and Pseudomonas sp. in raw milk: Impact of residual heat-Stable enzyme activity on stability of UHT milk during shelf-life. Int. Dai. J. 59: 20-28.
Widemann M., D. Weilmeier, S. S. Dineen, R. Ralyea and K. J. Boor. 2000. Molecular and phenotypic characterization of Pseudomonas spp. Isolated from milk. Appl Environ Microbiol. 66: 2085-2095.
|