- ชื่อเรื่อง : การพัฒนาหมูยอเสริมผา
- title : DEVELOPMENT OF MOU YAW SUPPLEMENT PHUM
- ผู้แต่ง : นางสาวพัชรี รัชคร
อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วัฒนี บุญวิทยา หลักสูตร : สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร ประธานหลักสูตร : อาจารย์ ภาสุรี ฤทธิเลิศ ปีการศึกษา : 2557 - บทคัดย่อ :
งานวิจัยนี้ได้ทาการศึกษาหมูยอเสริมผา โดยศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของผา ประกอบด้วย ความชื้น โปรตีน ไขมัน เส้นใย เถ้า และคาร์โบไฮเดรต เท่ากับ 95.38±0.36 , 0.87±0.09 , 0.23±0.06 , 0.54±0.07 , 0.65±0.09 และ 2.37±0.23 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ พลังงาน 15.01±0.99 กิโลแคลอรี แปรปริมาณผา 0 , 5 , 10 และ 15 เปอร์เซ็นต์ต่ออิมัลชัน 3000 กรัม จากการทดสอบทางประสาทสัมผัสพบว่า หมูยอสูตรเสริมผา 10 เปอร์เซ็นต์ ได้รับการยอมรับด้านความชอบรวม 7.80±0.38 ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับสูตรควบคุม (p>0.05) มีต้นทุนการผลิตต่อกิโลกรัมต่ากว่าสูตรควบคุม 5.51 เปอร์เซ็นต์ องค์ประกอบทางเคมีของหมูยอเสริมผา 10 เปอร์เซ็นต์ มีความชื้น 67.11±0.04 โปรตีน 36.59±0.05 เส้นใย 0.98±0.04 และเถ้า 3.86±0.04 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ สูงกว่าสูตรควบคุมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p≤0.05) หมูยอสูตรเสริมผา 10 เปอร์เซ็นต์เก็บรักษาในถุงโพลีเอทธิลีนที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส มีอายุเก็บรักษา 9 วัน จุลินทรีย์ทั้งหมด ยีสต์และรา อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนหมูยอ (มผช.102/2555) ระยะเวลาในการเก็บที่มากขึ้น ส่งผลให้การยอมรับทางด้านประสาทสัมผัส ค่าสี L* มีแนวโน้มลดลงแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับหมูยอสูตรควบคุม (p≤0.05) ค่าสี a* ค่าแรงตัดขาด และค่าความเหนียวมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
- เอกสารอ้างอิง :
เกษม นันทชัย. 2526. เอกสารประกอบการสอนเรื่องกล้ามเนื้อและเนื้อสัตว์.ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร, สถาบัน. (2541). เอกสารประกอบการฝึกอบรมเรื่องการแปรรูปผลิตภัณฑ์เนื้อ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
จารุวัฒน์ หล่าวังช่วย และพิพัฒน์ เถาหมอ. 2550. การใช้สารทดแทนเนื้อสัตว์และไขมันในไส้กรอกแฟรงก์เฟอร์เตอร์. งานวิจัยปริญญาตรี. สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตรและการจัดการ. คณะอุตสาหกรรมเกษตร. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
จิตติมา คินไธสง. 2544. ศึกษาการหาปริมาณโปรตีนผักพื้นบ้าน. โปรแกรมวิทยาศาสตร์ทั่วไป
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.
จุฑารัตน์ ศรีพรหมมา. 2528. การจัดการเนื้อสัตว์. ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์, คณะ เทคโนโลยีการเกษตร, กรุงเทพมหานคร : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
ชัยณรงค์ คันธพนิต. 2529. วิทยาศาสตร์เนื้อสัตว์. พิมพ์ครั้งที่1. สานักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช
ชื่นดวงใจ คงบาล. ม.ป.ป. ผา. ข่าวประชาสัมพันธ์ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดนครราชสีมา (พืชสวน). แหล่งที่มา : http://www.aopdh06.doae.go.th/news/new . 1 มิถุนายน 2556
ทิพากร ยี่ตัน และ มาราตรี สวัสดี. 2545. หมูยอมังสวิรัติพริกแกง, สถาบันราชชภัฏเพชรบุรี
นงลักษณ์ สุทธวนิช. 2527. ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์. พิมพ์ครั้งที่2. ภาควิชาอุสาหกรรมการเกษตร คณะ
ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, สงขลา
นิธยา รัตนปนนท์. เคมีอาหาร. พิมพ์ครั้งที่4. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์, 2553. 504 หน้า.
นิรนาม. ม.ป.ป.. แป้งมันสาปะหลัง. แหล่งที่มา : http://guru.google.co.th/guru/thread.
11 ต.ค.2555
นิรนาม ม.ป.ป.. แป้งมันสาปะหลัง. แหล่งที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/. 11 ต.ค.2555
51
นิรนาม. ม.ป.ป. อิมัลชันชนิดน้ามันกระจายตัวในน้า. แหล่งที่มา : http://scienceteacher.org.uk. 20 พ.ค.2556
ประไพร สิทธิกูล และสุริยา แก้วกอง. 2549. การใช้ผาเสริมในอาหารสุกรอย่านม. มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ วิทยาเขตพระนครศรีอยุธยา หันตรา. น.3-5.
ประภากร คุ้มแจ้ง. 2556. การพัฒนาผลิตภัณฑ์หมูยอเสริมเส้นใยจากกากสับปะรด.
ปัญหาพิเศษปริญญาตรี, มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
ประสาน บารุง. 2546. การเลี้ยงโคเนื้อ. นนทบุรี : สานักพิมพ์เกษตรสาส์น.
ปุ่น คงสมเกียรติ และสมพร คงสมเกียรติ. 2541. บรรจุภัณฑ์อาหาร. กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
และส่งเสริมบรรจุภัณฑ์ไทย. กรุงเทพ. 360น.
พรพาชื่น ชูเชิด (2550) . การพัฒนาผลิตภัณฑ์หมูยอลดไขมันเสริมสมุนไพรแกงเขียวหวาน.
สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชมงคล
ธัญบุรี, ปทุมธานี.
พิมพ์ชนก พริกบุญจันทร์. ม.ป.ป. การใช้ประโยชน์จากไข่น้า (ผา) เป็นแหล่งโปรตีนในขนมขบเคี้ยว, มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์ และ นิธิยา รัตนาปนนท์. ม.ป.ป. เครื่องบด. แหล่งที่มา:
http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/0354/grinder.
12 มกราคม 2556.
ไพลิน ศิริอุดมเศรษฐ และ นนทวัชร วิริยะธนนนท์. 2551. การพัฒนาผลิตภัณฑ์หมูยอจากกล้วยน้าว้า, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
มาลัยวรรณ อารยะสกุล และ วรรณวิบูลย์ กาญจนกุญชร. (2544).
เนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
เยาวลักษณ์ สุรพันธพิศิษฐ์. (2536). เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์. พิมพ์ครั้งที่ 2.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สหมิตรออฟเซต.
52
รัชนี ตัณฑะพานิชกุล. (2537). เคมีอาหาร. ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง. กรุงเทพมหานคร
ลักขณา รุจนะไกรกานต์. (2533). วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเนื้อสัตว์, คณะเกษตร- ศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ลักษณา อินทร์กลับ. 2543. โภชนะศาสตร์เชิงเคมี, วิตามิน, เกลือแร่ และเส้นใยอาหาร. มีเดียร์การพิมพ์, กรุงเทพมหานคร.
วัฒนี บุญวิทยา. (2542). เทคโนโลยีเนื้อและผลิตภัณฑ์. ปทุมธานี : คณะเทคโนโลยี การเกษตร, สถาบันราชภัฏเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์.
วัฒนี บุญวิทยา. 2549. เทคโนโลยีเนื้อและผลิตภัณฑ์. ปทุมธานี : คณะเทคโนโลยีการเกษตร,
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.
วันเพ็ญ แสงทองพินิจ. ม.ป.ป. การเสริมเส้นใยอาหารจากเปลือกสมโอใยผลิตภัณฑ์หมูยอ, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
วาลิกา สนองคุณ. 2548 . การพัฒนาขนมชั้นโดยใช้ประโยชน์จากฟลาวมันสาปะหลังพันธุ์เกษตรศาสตร์ 50. http://research.rdi.ku.ac.th/world/cache/03/WaligaSNOAll.pdf. 11 ต.ค.2555
วิชาดา สังข์แก้ว. 2552. ลักษณะทางกายภาพและทางประสาทสัมผัสของไส้กรอกแฟรงค์เฟอร์เตอร์เส้นใยสูงเสริมด้วยแบคทีเรียเซลลูโลส. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย29(4) : 112.
วิชชุดา สังข์แก้ว. 2553. ผลของสารสกัดจากใบกระโดนบกต่อลักษณะทางกายภาพ ประสาทสัมผัสและการเกิดออกซิเดชันของไส้กรอกแฟรงค์เฟอร์เตอร์. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. 41(3) : 153.
ศศิเกษม ทองยงค์และพรรณี เดชกาแหง. (2530). เคมีอาหารเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์.
ศิริลักษณ์ จันทร์ฤทธิ์. 2556. การพัฒนาบราวนี่เสริมไข่น้า. ปัญหาพิเศษปริญญาตรี,
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
53
สนธยา พึ่งสาโรง . 2553. การผลิตไอศกรีมเสริมผา. ปัญหาพิเศษปริญญาตรี,
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
สัญชัย จตุรสิทธา. 2543. เทคโนโลยีเนื้อสัตว์. พิมพ์ครั้งที่ 1. โรงพิมพ์ธนบรรณการพิมพ์
สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน. 2555. มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนหมูยอ. มผช.102/2555.
สุจิตรา เลิศพฤกษ์. (2535). เอกสารประกอบการบรรยาย วิชา ทอ 470 เทคโนโลยี-ผลิตภัณฑ์เนื้อ ภาควิชาอุตสาหกรรมการเกษตร คณะธุรกิจการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้ เชียงใหม่.
สุนทรณ์ ฟักเฟื่อง. 2544. การใช้เจลจากแป้งบุกและแซนแทนกัมทดแทนมันแข็งสุกรในสูตการผลิตหมูยอ. วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สุภางค์ เรืองฉาย. 2552. การพัฒนาและการศึกษาอายุการเก็บรักษาลูกชิ้นหมูผสมเห็ดหอม. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย29(3) : 84
อาพรรณ ชัยกุลเสรีวัฒน์ และปิยมาภรณ์ เอมเสน. 2549 , มกราคม-มีนาคม. การผลิตโยเกิร์ตเสริมไข่น้า. เทคโนโลยีการอาหาร. 3(1), 30-36.
อภิเดช แสงดี เบญจรงค์ วังคะฮาด อุดมลักษณ์ มณีโชติ ปิยะเนตร จันทร์ถิระติกุล และอาณุติ จันทร์ถิระติกุล. 2553. การจาแนกชนิดของไข่น้าโดยการหาลาดับเบสของยีนในคลอโร พลาสต์, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
อมรรัตน์ ใจไธสง. 2549. การเสริมเส้นใยสับปะรดในผลิตภัณฑ์เบอร์เกอร์ไก่. โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร. มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์.
อิ่มเอิบ พันสด. 2549. บทเรียนบนเครือค่ายอินเตอร์เน็ตเทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์. คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. อุมาพร ศิริพินทุ์. ม.ป.ป. ทอ 470 เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์เนื้อ. คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรม เกษตรมหาวิทยาลัยแม่โจ้.
Anonymous. H.D. nd. oil in water emulsifier. Emulsions and Emulsifiers. Available Source: http://scienceteacher.org.uk/?page_id=28, August 13, 2013.
AOAC. 2000. AOAC Official Methods of Analysis. The Association of Official Analytical Chemmists, Inc. USA.
54
Pearson.A.M. and T.A.Gillett. 1996. Processed Meat. 3rd ed., Chapman & Hall, New York. 218 .
Pearson,A.M. and Tauber, F.W. 1984. Process meats. 2nd., Conecticut: AVI Publishing.
Siripahanakul ,T. Thongsila , S. Tanuthong , T. and Chockchaisawasdee , S. 2012. Product development of Wolffia – pork ball, Loei Rajabhat University.
|