- ชื่อเรื่อง : การพัฒนาระบบการผลิตผักด้วยระบบเกษตรอัจฉริยะ
- title : DEVELOPMENT OF VEGETABLE PRODUCTION BY SMART FARMING
- ผู้แต่ง : นายวิศิษฏ์ เจ๊กอร่าม
อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ณัฐพงค์ จันจุฬา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ประธานหลักสูตร : อาจารย์ ดร.ราชาวดี ยอดเศรณี ปีการศึกษา : 2562 - บทคัดย่อ :
การทดลองนี้มีจุดประสงค์เพื่อเพื่อเปรียบเทียบการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักกาดพันธุ์ต่างประเทศ 6 ชนิด คือ กรีนโอ๊ค เรดโอ๊ค บัตเตอร์เฮด เรดคอรัล กรีนคอส ฟิลเลย์ ในการปลูกแบบอินทรีย์ในระบบโรงเรือนอัจฉริยะ (Smart Farm) แบ่งเป็น 2 การทดลอง การทดลองที่ 1 ศึกษาการเจริญเติบโตของผักกาดพันธุ์ต่างประเทศ 6 ชนิดในระบบน้้าหยด วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบรูณ์ (Completely Randomized Design, CRD) 6 สิ่งทดลอง จ้านวน 10 ซ้้า พบว่าบัตเตอร์เฮด มีจ้านวนใบมากที่สุดในสัปดาห์ที่ 1 และ 4 ความกว้างใบในสัปดาห์ที่ 1 บัตเตอร์เฮดมีความกว้างใบมากที่สุดไม่แตกต่างทางสถิติกับเรดโอ๊ค สัปดาห์ที่ 4 กรีนโอ๊คมีความกว้างใบมากที่สุด ความยาวใบที่สูงที่สุดในสัปดาห์ที่ 1 คือบัตเตอร์เฮด ไม่แตกต่างทางสถิติกับกรีนคอส เรดโอ๊ค และกรีนโอ๊ค และในสัปดาห์ที่ 4 คือ กรีนโอ๊ค กรีนคอสมีความสูงต้นมากที่สุด และกรีนโอ๊คมีขนาดพุ่มใหญ่ที่สุด ในการทดลองที่ 2 ทดลองโดยใช้น้้าหมักชีวภาพจากการหมักเศษซากพืช ซากสัตว์ วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบรูณ์ มี 36 ชุด จ้านวน 5 ซ้้า 6 สิ่งทดลอง ดังนี้ น้้าหมักชีวภาพถั่วลิสง น้้าหมักชีวภาพถั่วเหลือง น้้าหมักชีวภาพข้าวโพด น้้าหมักชีวภาพร้าละเอียด น้้าหมักชีวภาพเศษเลือด และน้้าหมักชีวภาพเศษปลา ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักกาดพันธุ์ต่างประเทศ พบว่าการใช้น้้าหมักชีวภาพถั่วลิสง มีผลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตที่สูงที่สุด รองลงมาคือ น้้าหมักชีวภาพ ถั่วเหลือง
- เอกสารอ้างอิง :
กรมวิชาการเกษตร. 2549. คู่มือปุ๋ยอินทรีย์ (ฉบับนักวิชาการ). พิมพ์ครั้งที่ 1. กรมวิชาการเกษตร. กรุงเทพฯ.
กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์. 2554. สถิติการค้าภาคเกษตร ไทย-จีน. ศูนย์สารสนเทศ-เศรษฐกิจการค้า. กรุงเทพฯ.
เกศศิรินทร์ แสงมณี, ชัยนาม ดิสถาพร และนพมณี สุวรรณัง. 2556. การจัดการดินด้วยเทคโนโลยีชีวภาพและถ่านชีวภาพในการผลิตผักคะน้า. น. 276-283. ใน การประชุมวิชาการดินและปุ๋ยแห่งชาติ ครั้งที่ 3. คณะเกษตรศาสตร์. มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น.
คณาจารย์ภาควิชาปฐพีวิทยา. 2550. ปฐพีวิทยาเบื้องต้น. ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.
จินตนา มีอานาจ. 2552. เจตคติต่อปัจจัยส่วน ประสมทางการตลาดผักอินทรีย์ของราชการในเขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร. ภาคนิพนธ์ ปริญญาโท. มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. กรุงเทพฯ.
จินดา สนิทวงศ์. 2532. การใช้ประโยชน์จากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรเป็นอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง. เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตรอาหารโคเนื้อ-โคนม. ศูนย์ส่งเสริมและฝึกอบรมการเกษตรแห่งชาติ ร่วมกับภาควิชาสัตวบาล. น.125-144. คณะเกษตร. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.
เฉลิมวุฒิ น้อยโสภา. 2553. การส่งเสริมการเจริญเติบโตของคะน้าที่ปลูกแบบใช้วัสดุปลูกโดยการใช้น้้าสกัดชีวภาพ. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหิดล. กรุงเทพฯ.
ไฉน ยอดเพชร. 2542. พืชผักในตระกูลครูซิเฟอร์. สานักพิมพ์รั้วเขียว. กรุงเทพฯ. 195 น.
ชิต แดงปรก, พุทธพร เพ็ชรชนะ, สุวัฒน์ อินตามูล, ภัทรธร ทองดีพันธ์, ภาสกร รัตนพันธ์, อนุชาติ รอดหลง, อภิลักษณ์ จุมปา, ธนะโรจน์ เพ็งทรัพย์, กิตติเดช เชี่ยวชาญ, ณัฐพร สาธุเม, สุรพันธ์ วาฤทธิ์, ลือชัย แสนเวียง และจารอง คนอยู่. 2556. คู่มือความรู้เรื่องเกษตรอินทรีย์. กรมการสัตว์ทหารบก กระทรวงกลาโหม. นครปฐม. 41 น.
ธินีกาญจน์ สิริธรรมเจริญ. 2547. อิทธิพลของน้้าสกัดชีวภาพต่อการเจริญเติบโตของผักกวางตุ้ง. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ.
71
บุญชัย ไหลชลธารา. 2554. ผลของกากชูรสที่มีต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักคะน้า. น. 311-326. ใน การประชุมทางวิชาการและนาเสนอผลงานวิจัย มสธ. วิจัยประจาปี 2554. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี.
ปิยะภรณ์ จิตรเอก. 2556. ผลของน้้าหมักชีวภาพร่วมกับสมุนไพรต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักสลัด 4 ชนิด ในการปลูกแบบไฮโดรโปนิกส์. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบันฑิต. มหาวิยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. ปทุมธานี.
ปรีชา เกียรติกระจาย. 2532. การใช้ประโยชน์จากชานอ้อย. วารสารน้าตาล. สานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทราย. สานักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม.
พัชราภรณ์ ภู่ไพบูลย์, ศิริวัลย์ สร้อยกล่อม และวาสนา บัวงาม. 2552. การวิเคราะห์การสะสมไนเตรทในผักสด. น. 289-298. ใน รายงานการวิจัยสาขาพืช การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 47. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.
พิสมัย จูฑะมงคล. 2534. ผลของเครื่องปลูก ชนิด อัตราและวิธีการให้ปุ๋ยที่มีต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของแตงกวาในระบบการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบันฑิต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.
เมธา วรรณพัฒน์. 2529. โภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง. น. 387. ภาควิชาสัตวศาสตร์.
คณะเกษตรศาสตร์. มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น.
เมธิน ศิริวงศ์. 2536. อิทธิพลของวัสดุปลูกภาชนะปลูกและปุ๋ยต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของมะเขือเทศพันธุ์สีดา มก. ในระบบการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบันฑิต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.
วิฑูรย์ ปัญญากุล. 2547. มาตรฐานเกษตรอินทรีย์. มูลนิธิสายใยแผ่นดิน. กรุงเทพฯ.
วิทยา สุริภณานนท์. 2524. อาหารและเครื่องปลูก. น.188. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.
วุฒิกร จันทร์มาก, ศศมล ผาสุข และชาตรี เกิดธรรม. 2552. การศึกษาประสิทธิภาพของน้้าสกัดชีวภาพจากปลาที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของผักกวางตุ้งฮ่องเต้ที่ปลูกแบบไร้ดิน. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. 3(1): 85-94.
สุภาพร พงศ์ธรพฤกษ์. 2551. การใช้มูลสุกร ผักตบชวา และเศษอาหารจากมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์เพื่อผลิตเป็นปุ๋ยหมัก. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. 3(1): 37-49.
72
สุภาพร ราชา และศิรศาธิญากร จันทร์ขศิราพร. 2560. ผลของน้้าหมักชีวภาพจากเศษปลาและผักที่มีต่อการเจริญเติบโตและลักษณะทางสรีรวิทยาของผักกาดหอมพันธุ์กรีนโอ๊คที่ปลูกในระบบไฮโดรโปนิกส์. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา. 22(ฉบับพิเศษ): 216-224.
สุรชัย พัฒนพิบูล. 2546. ประสิทธิภาพของน้้าสกัดชีวภาพต่อการเจริญเติบโตของผักบางชนิดในระบบการปลูกพืชแบบไม่ใช้ดิน. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.
สุริยา สาสนรักกิจ. 2542. ปุ๋ยชีวภาพ. ฝ่ายเทคโนโลยีชีวภาพ สถาบันวิจัยวิทยาศสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย. กรุงเทพฯ.
สมเพียร เกษมทรัพย์. 2526. ไม้ดอกกระถาง. พิมพ์ครั้งที่ 2. สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.
อภิชาติ ศรีสอาด. 2549. เกษตรอินทรีย์ชุดอาหารปลอดภัย. สานักพิมพ์ดอกคูน. สมุทรสาคร. 142 น.
อภิชญา ประสพรัตนชัย. 2552. ความสามารถในการเป็นสารแอนติออกซิแดนท์ของสารสกัดจากผักอินทรีย์. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยแม่โจ้. เชียงใหม่. 97 น.
Cartea, M.E., Francisco, M., Soengas, P. and Velasco, P. 2011. Phenolic compounds in brassica vegetables. Molecules. 16: 251-280.
Chanmag, W., Phasuk, S. & Gerdthum, C. 2009. A Study of efficiency of an bio-extract from fish upon growth of Brassica chinensis var.chinensis by hydropoie methods. Journal of Graduate Studies Valaya Alongkron Rajabhat University, 3(1), 85-94. (In Thai)
Douglas, J.S. 1988. Beginner’s Guide to Hydroponics: Soilless Culture. Pelnam Books Ltd., London. 140 p.
Lorenz, O.A. and. D.N. Maynard. 1998. Knott’s Handbook for Vegetable Growers. Third Edition. John Wiley and Sons. Inc., USA. 456 p.
Rankin, J.B. 1980. The use of saw dust as a growing medium for all crops in grow box beds in central Afric. pp. 385-390. In Proceedings of the Sixth International Congress on Soilless Culture. Wageningen.
Tancho, A. 2013. Natural Agriculture Applied Concepts in Thailand in 2013. Bangkok: National Science and Technology Development Agency. (in Thai)
|