- ชื่อเรื่อง : คุณภาพหญ้าเนเปียร์สีม่วงและหญ้าเนปียร์ปากช่อง 1 หมักร่วมกับใบกระถินสด
- title : SILAGE QUALITY BETWEEN PURPLE NEPIER GRASS AND PAKCHONG 1 NAPIER GRASS ADDED WITH FRESH LEUCAENA LEAVES
- ผู้แต่ง : นายพงศธร กงจักร
อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กรรณิกา อัมพุช หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ ประธานหลักสูตร : อาจารย์ ดร.ราชาวดี ยอดเศรณี ปีการศึกษา : 2562 - บทคัดย่อ :
หญ้าเนเปียร์ เป็นหญ้าเขตร้อนที่นิยมปลูกทั่วไปในประเทศไทย แต่เมื่อถึงฤดูแล้งพืชอาหารสัตว์คุณภาพดีจะหาได้ยากโดยเฉพาะหญ้าสดทั้งปริมาณและคุณภาพ เกษตรกรจึงต้องมีการถนอมพืชอาหารสัตว์ในช่วงฤดูฝนโดยเฉพาะการทาหญ้าแห้งและหมักสาหรับไว้ใช้ในฤดูแล้ง หญ้าเนเปียร์และกระถิน จัดเป็นพืชอาหารสัตว์ที่นิยมนามาหมักและใช้เป็นแหล่งโปรตีนหลักสาหรับสัตว์เคี้ยวเอื้อง ดังนั้น ในการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของคุณภาพพืชหมักระหว่างหญ้าเนเปียร์สองสายพันธุ์ คือ เนเปียร์สีม่วง และเนเปียร์ปากช่อง 1 โดยการเสริมกระถิน โดยแบ่งกลุ่มทดลองเป็นสองกลุ่มตามพันธุ์หญ้า คือ หญ้าเนเปียร์สีม่วง และหญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1 โดยจัดเป็นกลุ่มที่ 1 และ 2 ตามลาดับ โดยทั้งสองกลุ่มมีการใส่ใบกระถินสดและกากน้าตาล โดยมีระยะเวลาการหมัก 21 วัน โดยวางแผนการทดลองแบบ t-test ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ผลการทดลองพบว่า หญ้าเนเปียร์สีม่วงหมัก มีคุณภาพหญ้าหมักดีกว่าหญ้าเนเปียร์ปากช่อง โดยเฉพาะ ค่าความเป็นกรดด่าง – ด่าง ปริมาณกรดแลคติค รวมทั้งกรดอินทรีย์อื่น ๆ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P<0.05)
- เอกสารอ้างอิง :
กรมปศุสัตว์. 2560ก. หญ้าหมัก. แหล่งที่มา:
http://secretary.dld.go.th/index.php/informationdld/article-dld/2626-6-2560. 26 ธันวาคม 2561.
กรมปศุสัตว์. 2560ข. การปลูกหญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1 . แหล่งที่มา:
http://secretary.dld.go.th/index.php/informationdld/article-dld/2625-1-5-2560. 26 ธันวาคม 2561.
กรมปศุสัตว์. 2547. มาตรฐานพืชอาหารสัตว์หมัก. กองอาหารสัตว์.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุม
สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย; 2547
กรมปศุสัตว์. ม.ป.ป. ก. การทดสอบการใช้ใบกระถินสดและกากน้าตาลในการท้าหญ้าเนเปียร์หมัก.
ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์เพชรบุรี,เพชรบุรี. (สาเนาอัด)
กรมปศุสัตว์. ม.ป.ป. ข. กระถินใช้ส้าหรับเป็นพืชอาหารสัตว์. แหล่งที่มา:
http://nutrition.dld.go.th/Nutrition_Knowlage/ARTICLE/Pro12.htm.
10 ธันวาคม 2561.
ไกรลาศ เขียวทอง, วีรชัย อาจหาญ, อิทธิพล เผ่าไพศาล, เรืองเดช ปั่นด้วง, สรยุทธ วินิจฉัย. 2556.
การปลูกหญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1 . หจก.มิตรภาพการพิมพ์ 1995. นครราชสีมา.
เฉลา พิทักษ์สินสุข, จริยา บุญจรัชชะ, จีรพัฒน์ วงศ์พิพัฒน์, 2553. การรวบรวมและจัดท้าข้อมูล
ด้านคุณค่าทางโภชนะของพืชอาหารสัตว์. รายงานผลงานวิจัย กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกณ์.
บุญล้อม ชีวะอิสระกุล และ บุญเสริม ชีวอิสระกุล. 2525. คู่มือการวิเคราะห์อาหารสัตว์.
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่
ปราโมทย์ แพงคา และศิวพร แพงคา. 2560. การใช้ประโยชน์วัตถุดิบอาหารสัตว์ในท้องถิ่นและผล
พลอยได้จากมันส้าปะหลังเพื่อเป็นอาหารสัตว์เคี ยวเอื อง. โรงพิมพ์เลิศศิลป์ (1994). นครราชสีมา
แพรวพรรณ เครือมังกร, เกียรติศักดิ์ กล่าเอม, สัมพันธ์ มาศโอสถ. 2549. การเพิ่มคุณภาพของหญ้า
แพงโกล่าหมักโดยใช้สารเสริมชนิดต่างๆ. รายงานผลงานวิจัยกองอาหารสัตว์ ประจาปี พ.ศ. 2549 กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกณ์. หน้า 121-137.
25
มงคล ต๊ะอุ่น. 2551. ฟื้นฟูทรัพยาการที่ดินด้วยไม้ยืนต้นตระกูลถั่วโตไวกระถินยักษ์. เกษตรธรรมชาติ
11(10): 54-58.
สจ๊วต บราวน์. 2558. การใช้พืชอาหารสัตว์ในเขตร้อนชื้นเพื่อพัฒนาความเป็นอยู่ในภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้สาหรับปศุสัตว์. สารเอคโคเอเชีย. แหล่งที่มา:
www.echocommunity.org. 26 ธันวาคม 2561.
สมสุข พวงดี. 2544. การผลิตหญ้ารูซี่หมักคุณภาพสูง การประเมินคุณค่าทางโภชนะและความ
ต้องการพลังงาน และโปรตีนของโครีดนมลูกผสมขาวด้า. วิทยานิพนธ์ ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สายัณห์ ทัดศรี. 2547. พืชอาหารสัตว์เขตร้อน. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
Bal, M.A., J.R. Coors and R.D. Shaver. 1997. Impact of the maturity of corn for use as
silage in the diets of dairy cow on intake, digestion and milk production. J. Dairy. Sci. 80:2497 – 2503
|