การทดลองเสริมยีสต์สกัดและเบต้ากลูแคนในอาหารไก่ไข่เพื่อเป็นแหล่งสารเสริมต่อคุณภาพไข่ ทำการทดลองในไก่ไข่พันธุ์โรมันบราวน์ อายุ 28 สัปดาห์ จำนวน 150 ตัว แบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว 3 กลุ่มที่ 1 ได้รับอาหารปกติ (กลุ่มควบคุม) กลุ่มที่ 2 ได้รับอาหารปกติเสริมยีสต์สกัด 0.25% และกลุ่มที่ 3 ได้รับอาหารปกติเสริมเบต้ากลูแคน 0.05% พบว่าค่าฮอกยูนิตของกลุ่มที่ได้รับอาหารเสริมยีสต์สกัด มีความแตกต่างทางสถิติกับกลุ่มทดลองที่ได้รับกลุ่มทดลองที่ได้รับอาหารปกติและอาหารที่เสริมเบต้ากลูแคน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) โดยมีค่าเท่ากับ 87.59, 84.58 และ 83.25ตามลำดับ แต่น้ำหนักไข่ เปอร์เซ็นต์ไข่แดง เปอร์เซ็นต์ไข่ขาว เปอร์เซ็นต์เปลือกไข่ ดัชนีไข่แดง สีไข่แดง ความถ่วงจำเพาะ และความหนาเปลือกไข่ ไม่ความแตกต่างกันทางสถิติ (P>0.05) กานดา ล้อแก้วมณี. 2560. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพไข่. ข่าวสารเกษตร. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพ. กานต์ชนา พูนสุข. 2558. การใช้โปรไบโอติกและประโยชน์ของการใช้โปรไบโอติกในปศุสัตว์. สมาคมผู้ เลี้ยงสุกรแห่งชาติ. แหล่งที่มา: https://www.swinethailand.com. 10 สิงหาคม 2561 ขวัญดาว จันทโชติ. 2551. ผลของเบต้ากลูแคนและนิวคลีโอไทดตอการเติบโตและการรอดตายในกุ้ง ขาว. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, หลักสูตรเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. จรัญ จันทลักขณา. 2557. สถิติวิธีวิเคราะห์และวางแผนงานวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 5. ไทยวัฒนาพานิช. กรุงเทพฯ. ฉัทชนัน ศิริไพศาล. 2549. การใช้เบต้ากลูแคนเป็นสารกระตุ้นภูมิคุ้มกันในกุ้งขาว (Litopenaeus vannamei Boone). น. 279-290. ใน การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 44. ภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตวน้ำ คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ. ไชยา อุ้ยสูงเนิน. 2533. คู่มือไก่ไข่. พิมพ์ครั้งที่ 1. ศูนย์ผลิตตำราเกษตรเพื่อชนบท. ปากเกร็ด, นนทบุรี. ชนิกา คงสวัสดิ์. 2546. ผลของการใช้ยีสต์สกัดทดแทนปลาป่นบางส่วนในสูตรอาหารต่อการเจริญ เติบโตของกุ้งกุลาดำ Penaeus monodon. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, ภาควิชาวิทยาศาสตร์ ทางทะเล. สาขาวิทยาศาสตร์ทางทะเล คณะวิทยาศาสตร์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ดนุภัสตรา ชะนะเพีย และ สุทธิพงศ์ อุริยะพงศ์สรรค์. 2559. การใช้ประโยชน์จากยีสต์ผงสกัดเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการใช้อาหารในสุกรขุน. วารสารแก่นเกษตร. 44 (1) : 35-42.
ถาวร ฉิมเลี้ยง. 2542. โภชนะศาสตร์สัตว์. คณะเกษตรและอุสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏ รำไพพรรณี, จันทบุรี. นิภารัตน์ ศรีธเรศ. 2553. ผลของการเสริมเบต้ากลูแคนในอาหารต่อสมรรถภาพการผลิตสภาพมูลและ ค่าโลหิตวิทยาของสุกรรุ่น. ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 18 (3): 39-48 นิรนาม. ม.ป.ป. เบต้ากลูแคน คืออะไร. Beta1-3D Glucan. แหล่งที่มา: https://beta1-3dglucan.com. 8 สิงหาคม 2561. พัชรี ชนะชัย. 2554. ผลของการเสริมพรีไบโอติก (Aspergillus meal) ในอาหารต่อสมรรถภาพ การผลิต คุณภาพไข่ และจุลินทรีย์ในทางเดินอาหารของไก่ไข่. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, สาขาวิชาสัตวบาล ภาควิชาสัตวบาล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. รพีพร คำรัตน์. 2542. การดูดซับโลหะหนักโดยใช้กากยีสต์จากโรงงานเบียร์. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยมหิดล. ราชาวดี ยอดเศรณี สมชัย จันทร์สว่าง ชัยภูมิ บัญชาศักดิ์ และอาภัสสรา ชูเทศะ ผลการเสริมหัวเชื้อ จุลินทรียผสมหัวเชื้อจุลินทรียน้ำสกัดชีวภาพจากพืชและสัตวในอาหารไกไขตอสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่. หน้า119-126. ใน การประชุมทางวิชาการขอมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 41. กรุงเทพมหานคร, กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. วันวิสา พลชัยภูมิ, เทอดศักดิ์ คำเหม็ง และสาวิตรี วงศ์ตั้งถิ่นฐาน. 2558. ผลการใช้กากส่าเอทานอลจาก มันสำปะหลังต่อสมรรถนะการผลิตและองค์ประกอบซากของสุกรรุ่นและขุน. The 34th national graduate research conference. มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น. วิทยา กดุมภะ. 2555. เบต้ากลูแคน เสริมภูมิคุ้มกัน. สำนักพิมพ์เพชรประกาย, กรุงเทพ วีรญา จันทร์ไพแสง. 2551. โครงสร้างและสมบัติเชิงหน้าที่ของเบตากลูแคนที่สกัดจากยีสต์ Saccharomyces ต่างชนิดและสายพันธุ์. วิทยานิพนธ์ปริญญาตรี. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศรีสกุล วรจันทรา และรณชัย สิทธิไกรพงษ์. 2539. โภชนะศาสตร์สัตว์. ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิต สัตว์คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง, กรุงเทพมหานคร. สาวิตรี ลิ่มทอง. 2549. ยีสต์ : ความหลากหลายทางชีวภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 1. สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ. 2549. ยีสต์..คุณประโยชน์ใน อุตสาหกรรม. กระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี. พิมพ์ครั้งที่ 1. บริษัท สเปเชียลตี้ ไบโอเทค, กรุงเทพฯ. สุชาติ สงวนพันธ์. 2547. การเลี้ยงดูไก่ไข่. เอกสารวิชาการ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ. สุนทร อมรเลิศวิมาน. 2550. เอกสารงานวิจัยผลการใช้ผนังเซลล์ของยีสต์ Saccharomyces cerevisiae ผสมในอาหารต่อประสิทธิภาพการเจริญเติบโตระดับแฮปโตโกลบินในกระแสเลือดและภูมิคุ้มกันในลูกสุกรอนุบาล. คณะสัตวแพทยศาสตร์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ สุภัสรา รุจานันท์ และ ศศิธร คงเรือง. 2561. การสกัดและการประยุกต์ใช้เบต้ากลูแคนจากยีสต์. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม. 13 (1): 19-27. สุวรรณี แสนทวีสุข, จักรพงษ์ ชายคง และ ศศินิชา โตชัยภูมิ. 2555. ประสิทธิภาพการเสริมสารสกัดเซลล์ ยีสต์ร่วมกับอินนูลินในอาหารไก่ไข่. แก่นเกษตร 40 ฉบับพิเศษ 2 : 498-501. อาวุธ ตันโช. 2538. การผลิตสัตว์ปก. ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว คณะเทคโนโลยีการเกษตร. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง. สำนักพิมพโอเดียนสโตร, กรุงเทพฯ. อภิวัฒน์ ยาจันทึก, กิตติศักดิ์ น้ำเพชร, อรุณี ดัชถุยาวัตร และ ศศิวภรณ์ คิดสุข. 2560. Feed supplement and feed additive. แหล่งที่มา: http://apiwatnew.blogspot.com. 20 มีนาคม 2562 อมรเทพ ประทุมมา และ สุทธิพงศ์ อุริยะพงศ์สรรค์. 2555. ผลของการใช้สิ่งเหลือทิ้งจากโรงงานผลิต กรดซิตริกร่วมกับเอนไซม์รวมในสูตรอาหารสุกร. วารสารแก่นเกษตร. 40 (2): 309-312 Association official Analytical Chemists (AOAC). 1995. Official Methods Analysis. 14thed. Washington D.C. Association of official Analytical Chemists Baker, R.T.M. and S.J. Davies. 1995. The effect of pyridoxine supplementation on dietary protein utilization in gilthead sea bream fry. Animal Science. 60: 157-162. Benjamin, A. W. 2012. Effect of Bio-Mos® and Outdoor Access Housing on Pig Growth, Feed Effiiency, Health, Behavior and Carcass Ultrasound Traits. M.S. Thesis. The Ohio State University. Bhattacharjee, J.E. 1970. Microorganism as potential sources of food. Adv. In AppI.13: 139-159. Chen, J., and R. Seviour. 2007. Medicinal importance of fungal β-(1→3), (1→6)- glucans. Microbiological Reseach. 3: 635-652. Chen Y.C., G.C. Nakthon and T.C. Chen. 2005. Improvement of laying hen performance by dietary prebiotic chicory oligofructose and inulin. J. Poult. Sci. 4 : 103-108. Davis, M. E., C. V. Maxwell, D. C. Brown, B. Z. de Rodas, Z. B. Johnson, E. B. Kegley, D. H. Hellwig, and R. A. Dvorak. 2002. Effect of dietary mannan oligosaccharides an (or) pharmacological additions of copper sulfateon growth performance and immunocompetence of weaning and growing/fiishing pigs. J. Anim. Sci. 80: 2887-2894. Delaney, R., A.M.R. Kennedy and B.D. Walley. 1975. Composition of Saccharomyces fragilis biomass grown on lactose permeat. J. Sci. Fd. Agric. 26: 1177-1186 Diehl, J. 2004. All in good taste: creating natural savoury flavorings from yeast. In: Nutritional Biotechnology in the Feed and Food Industries. In Proceedings of Alltech’s 20th Annual Symposium (T.P. Lyons and K.A. Jacques, eds). Nottingham University Press, UK. Fleet, G. H. 1991. Cell Walls. In A. H. Rose, and J. S. Harrison (eds.), The Yeasts: Yeast organelles, pp. 199-277. London: Academic Press. Fortin, A., W.M. Robertson., S. Kibite, and S.J. Landry. 2003. Growth Performance, Carcass and pork quality of finisher pigs fed oatbased diets containing different levels of β-Glucans. J. Anim. Sci. 81: 449-456 Freimund, S., M. Sauter, O. Kappeli, and H. Dutler. 2003. A new non-degrading isolation process for 1,3-β-D-glucan of high purity from baker’s yeast Saccharomyces cerevisiae. Carbohydrate Polymers 54: 159-171. Frey, c.n. 1930. History and development of the yeast. Ind. Eng. Chem. 22: 1154- 1162. Fuller, R. 1989. Probiotic in man and animals. Probiotic:the scientific basic, Chapman&Hall Ltd., London J. Appl. Bacteriol. 36: 131-139. Grimes, J.l., D.V. Maurice, S. Lightsey and J.G. Lopez. 1997. The effect of dietary Fermacto on layer performance. J. Appl. Poult. 6: 366-403. Harrison, J.S. 1968. Yeast as a source of biochemical process. Biochem. 3(8): 59-62. Harms, R.H. and R.D. Miles. 1998. Reseach note: Influence of Fermacto® on the performance of laying hens when fed with different levels of methionine. Poult. Sci. 67: 842-844. Kapteyn, J. C., H. V. D. Ende. and F. M. Klis. 1999. The contribution of cell wall proteins to the organization of the yeast cell wall. Biochemica and Biophysica Acta– Proteins and Proteomics. 1426: 373-383. Klis, F., P. Mol, K. Hellingwerf and S. Brul. 2002. Dynamic of cell wall structure in Saccharomyces cerevisiae. FEMS Microbiology. 26: 239-256. Kobayashi, M., and S.I. Kurata. 1978. The mass culture and cell utilization of photosynthetic bacteria. Process Biochem. 13(9): 27-30. Kristiansan, A.L. and R. Engstad. 2003. The Use of Beta- 1,3/1,6 – Glucan in Diets for Poultry. WPSA. 8: 1-4. Liu, X. Y., Q. Wang, S.W. Cui S. W, and H.Z. Liu. 2008. A new isolation method of β-D- glucans from spent yeast Saccharomyces cerevisiae. Food Hydrocolloids. 22: 239-247. Mack, O. N., and D.B. Donald. 1990. Commercial Chicken Production Manual. Manners, D.J., A.J. Masson, and J. C. Patterson. 1973. The structure of a β-1,3-D-glucan from yeast cell walls. Biochem. J. 135:19-30. Miguel, J. C., S. L. Rodriguez-Zas, and J. E. Pettigrew. 2004. Effiacy of Bio-MOS for improving nursery pig performance. J. Swine Health Prod. 12: 296-307. Mokslai, Z.U. 2006. Influence of a prebiotic feed additive on some biochemical indices of blood and intestinal microbiota of broiler chickens. J. Nutr. 4: 57-62. Perazzolo, L.M. and M.A. Barracco. 1997. The prophenoloxidase activating system of the shrimp Penaeus paulensis and associated factors. Dev. Comp. Immunol. 21: 385-395. Pettigrew, J. E. 2000. Bio-Mos Effects on Pig Performance: A Review. In Proceedings of Alltech’s 16th Annual Symposium. Nottingham University. Press, Nottingham. p.31-45. Rose, A.S. and J.S. Harrison. 1971. The Yeast Volume 2. Academic Press Inc., New York. 571p. Rozenbiom, Md, E. Zilberman and G. Gvaryahu. 1998. New monochromatic light source for laying hen. Poult. Sci. 77: 1695-1698. Scott, M. L., M. C. Nesheim and R. J. Young. 1982. Nutrition of the Chicken. 3 rd ed., M. L. Scott and Associates, New York, U.S.A. Shang, H. M., T. M. Hu, Y. J. Lu, and H. X. Wu. 2010. Effect ofinulin on performance, egg quality, gut micro flora, serum and yolk cholesterol in laying hens. Poult. Sci. 51:791-796. Singh, K., P.N. Agarwal and W.H. Peterson. 1948. The influence of aeration and agitation on the yield, protein and vitamin content of food yeasts. Arch. Biochem. 18: 181-193. Siam Agri Supply Co., Ltd. 2560. การใช้โปรไบโอติกในอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์ปีก. แหล่งที่มา: https://www.siamagrisupply.com. 10 สิงหาคม 2561. Thammakiti, S., M. Suphantharika, T. Phaesuwan, and C. Verduyn. 2004. Preparation of spent brewer’s yeast β-glucans for potential applications in the food industry. International. Journal of Food Science and Technology 39: 21-29. Tomasik, P.J. and P. Tomasik. 2003. Probiotics and prebiotics. Cereal Chem. 80: 113-117. Waldroup, P.W., D.E. Greene, L.W. Luther and B.D. Jones. 1972. Response of turkey breeder hens to Vigofac and Fermacto supplementation. Poult. Sci. 51: 510-513. Wang, Y., S. Yao, and T. Wu. 2003. Combination of induced autolysis and sodium hypochlorite oxidation for the production of Saccharomyces cerevisiae (1→3)- β-D-glucan. World Journal of Microbiology and Biotechnology. 19: 947-952. Wheatcroft R., J. Kulandai, R.W. Gilbert, K. J. Sime, C. G. Smith and W.H. Langeris. 2002. Production of beta - glucan-mannan preparations by autolysis of cells under certain pH, temperature and time conditions. U.S. Patent 6: 444,448. Yildiz, G., P. Sacakli, and T. Gungo. 2006. The effect of dietary Jersalem Artichoke (Helianthus tuberosus L.) on performance , egg quality characteristics and egg cholesterol content in laying hens. J. Anim. Sci. 51(8):349-354. |