- ชื่อเรื่อง : การศึกษาผลของรังสีแกมมาต่อการกลายพันธุ์ของเปเปอร์มินท์ บนอาหารสังเคราะห์ ในสภาพปลอดเชื้อ
- title : EFFECT OF GAMMA RAYS ON MUTATION OF MENTHA × PIPERITA L.
- ผู้แต่ง : นายธัญพิสิษฐ์ โสกันทัต
อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ณัฐพงค์ จันจุฬา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ประธานหลักสูตร : อาจารย์ ดร.ราชาวดี ยอดเศรณี ปีการศึกษา : 2562 - บทคัดย่อ :
เปปเปอร์มินท์ เป็นหนึ่งในพืชสมุนไพรตระกูลมินท์ ที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายไปทั่วโลก ด้วยความหอมสดชื่นที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งกลิ่นและรสชาติ จึงถูกนำมาเป็นส่วนผสมในหลากหลายผลิตภัณฑ์ ในการศึกษาผลของรังสีแกมมาที่มีต่อการเจริญเติบโตและลักษณะสัณฐานวิทยาที่เปลี่ยนแปลงไปของต้นเปเปอร์มินท์ โดยการพะเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนของลำต้นซึ่งผ่านการฉายรังสีแบบเฉียบพลัน ที่ระดับรังสี 0, 20, 40, 60, 80, และ100 เกรย์ และฉายรังสีซ้ำที่ระดับ 0+0, 20+20, 40+40, และ 60+60 เกรย์ โดยนำชิ้นส่วนในสภาพปลอดเชื้อ เลี้ยงบนอาหารแข็งสูตร Murashige and Skoog (MS. 1962) จากการศึกษาผลของรังสีแกกมมาที่มีผลต่อการเติบโตและการเปลี่ยนแปลงทางสัณฐานวิทยาสรุปได้ว่า ในปริมาณรังสีที่ส่งผลให้ต้นเปเปอร์มินท์เจริญเติบโตได้ดีที่สุดอยู่ที่ระดับรังสี 0 เกรย์ และระดับรังสีแกมมาที่ส่งผลต่อการกลายพันธุ์ของต้นเปเปอร์มินท์ได้ดีที่สุดที่ระดับรังสี 40+40 เกรย์
- เอกสารอ้างอิง :
กลั่นแก่น. 2541. แหล่งกำเนิดเปเปอร์มินท์. แหล่งที่มา: https://sites.google.com/site/bumbimm602/info. 30 ตุลาคม 2561.
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย กระทรวงปรมณูระหว่างประเทศ. หน่วยวัดทางรังสี. แหล่งที่มา: http://www.ned.egat.co.th/index.php?option=com_content&view=article&id=18&I. 27 ตุลาคม 2561.
ครรชิต ธรรมศิริ. 2536. ผลของรังสีแกมมาต่อโปรโตคอร์มกล้วยไม้กลุ่มแคทลียา. ชัยพฤกษ์ วิทยาศาสตร์: 18-22.
ณัฏฐา ผดุงศิลป์, ธัญญะ เตชะศีลพิทักษ์, เฌอมาลย์ วงศ์ชาวจันท์ และ ณัฐพงค์ จันจุฬา. 2558. การชักนำให้เกิดการกลายในต้นแพงพวยโดยการฉายรังสีแกมมาแบบเฉียบพลัน. Thai journal of Science and Technology. 4 (1): 96-103.
ณัฐพงค์ จันจุฬา และอัญชลี จาละ. 2557. การชักนำให้เกิดการกลายในต้นพิงกุยคูล่าโดยการฉาย รังสีแกมมา. Thai journal of Science and Technology. 3 (2): 77-81.
ทวีทอง หงส์วิวัฒน์. 2545. สรรพคุณของเปเปอร์มินท์. แหล่งที่มา: https://sites.google.com/site/sarahaen07453/sar-cak-phx. 30 ตุลาคม 2561.
นุชรัฐ บาลลา, ธัญญะ เตชะศีลพิทักษ์, อัญชลี จาละ และธีระชัย ธนานันต์. 2559. ผลของรังสีแกรม มาที่มีต่อมันเทศประดับพันธุ์ผสมในสภาพปลอดเชื้อ. วารสาร วิทย. กษ. 48(1): 151-159.
พรรณี ศรีสวัสดิ์. 2543. การศึกษาอิทธิพลของรังสีแกมมาต่อการเปลี่ยนแปลงลักษณะการ เจริญเติบโตของพิทูเนียพันธุ์ Pearl Wave. ปัญหาพิเศษปริญญาตรี. มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: 1-23.
พันทิพา ลิ้มสงวน, สนธิชัย จันทร์เปรม, อิทธิฤทธิ์ อึ้งวิเชียร, ปัทมา ศรีน้ำเงิน และ เสริมศิริ จันทร์ เปรม 2560. การปรับปรุงพันธุ์โดยชักนำการกลายพันธุ์ในเบญจมาศโดยใช้ รังสีแกมมาและการตรวจสอบการกลายพันธุ์โดยวิธีเอเอฟแอลพี. วารสาร วิทย. กษ: 48(3): 334–345.
พีรนุช จอมพุก. 2553. เรื่องการปรับปรุงพันธุ์พืชโดยการเหนี่ยวนำให้กลายพันธุ์ (mutation breeding). เอกสารประกอบการอบรมหลักการปรับปรุงพันธุ์พืช รุ่นที่ 2 (Principles of Plant Breeding). สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน). กรุงเทพฯ: 1-22.
ศรัญญู ถนิมลักษณ์ และธัญญะ เตชะศีลพิทักษ์. 2560. การชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์ใน บานไม่รู้โรยลูกผสมพันธุ์กลายโดยการฉายรังสีแกมมา. Thai journal of Science and Technology 7(1): 49-57.
สิรินุช ลามศรีจันทร์. 2540. การกลายพันธุ์ของพืช. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ: (2): 1-205.
26
สุจิตรา เพชรคง และคณะ. 2553. การชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์ในไม้น้ำใบพายชนิด Cryptocoryne cordata โดยการฉายรังสีแกมมา. สถาบันวิจัยและพัฒนาพันธุกรรมสัตว์ น้ำ. กรมประมง. ฉบับที่ (3) : 1-17.
สุพิชชา สิทธินิสัยสุข และธัญญะ เตชะศีลพิทักษ์ 2561. ผลของรังสีแกมมาแบบเฉียบพลันต่อต้น ลิน เดอร์เนียในสภาพปลอดเชื้อ. Thai journal of Science and Technology. 7(2): 158-168.
อรุณี วงศ์ปิยะสถิตย์, สิรินุช ลามศรีจันทร์, ประภารัจ หอมจันทน์, สมทรง โชติชื่น, สมยศ พิชิตพร, และ สุมนางามผ่องใส, 2539. การปรับปรุงพันธุ์ถั่วเขียว (Vigna radiate (L.) Wilczek) ด้วยการเหนี่ยวนำให้เกิดการกลายพันธุ์. ว. วิทยาศาสตร์ ม.ก. 14(1): 22-24.
Amano, E. 1999. Mutation breeding in the world as seen in the database. Gamma symposia. (40): 39-49.
L.J.,Stadler. 1982. Genetic effects of X-rays in maize. Proc. N. A. S. 14: 69-75.
|