- ชื่อเรื่อง : การชักนาให้กล้วยไข่เกิดการกลายในระบบไบโอรีแอคเตอร์
- title : INDUCED MUTATION OF KLUAIKHAI IN TEMPORARY IMMERSION BIOREACTORS (TIBS)
- ผู้แต่ง : นายคฑาวุธ ประเสริฐ
อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ณัฐพงค์ จันจุฬา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ประธานหลักสูตร : อาจารย์ ดร.ราชาวดี ยอดเศรณี ปีการศึกษา : 2562 - บทคัดย่อ :
กล้วยไข่ Musa Sapientum เป็นไม้ผลที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายและผูกพันกับประเพณีของไทยมานาน และเป็นกล้วยที่นิยมปลูกกันมากชนิดหนึ่งในประเทศไทยเนื่องจากมีรสชาติหวาน ในปัจจุบันนี้กล้วยไข่ เป็นผลไม้ที่มีศักยภาพในการส่งออกชนิดหนึ่งเนื่องจากมีผลขนาดเล็ก แตกต่างไปจากกล้วยในตลาดการค้าสากลซึ่งเป็นกลุ่ม Cavendish ที่มีผลขนาดใหญ่ผู้บริโภคมีแนวโน้มที่จะให้ความสนใจเพิ่มขึ้นกับกล้วยที่มีผลขนาดเล็กทาให้ประเทศไทยมีโอกาสผลิตและส่งกล้วยไข่ไปขายในตลาดประเทศ การทดลองนี้เพื่อศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยาของกล้วยไข่ในระบบไบโอรีแอคเตอร์ที่ได้รับสารออไรซาลินวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely randomized Design, CRD) มีจานวน 10 สิ่งทดลองทดลองจานวน 5 ซ้า เป็นเวลา 1, 3 และ 5 วัน ในความเข้มข้น 0, 1, 3และ 5 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่าต้นที่มีจานวนใบมากที่สุดคือความเข้มขัน 1 มิลลิกรัมต่อลิต นาน 3 วัน มีการแตกใบเฉลี่ย 4.00 ต้นที่มีความสูงต้นน้อยที่สุดคือความเข้มข้น 5 มิลลิกรัมต่อลิตร นาน 3 วัน มีความสูงเฉลี่ย 0.90 เซนติเมตร ต้นที่มีจานวนรากมากที่สุดคือความเข้มข้น 5 มิลลิกรัมต่อลิตร นาน 1 วัน มีจานวนรากเฉลี่ย 4.40 ราก ต้นที่มีความยาวรากมากที่สุด มีความเข้มข้น 1 มิลลิกรัมต่อลิตร นาน 3 วัน มีความยาวรากเฉลี่ย 4.40 เซนติเมตร ต้นที่มีความยาวใบมากที่สุด มีความเข้มข้น 0 มิลลิกรัมต่อลิตร มีความยาวรากเฉลี่ย 2.82 เซนติเมตร ต้นที่มีความกว้างใบ มากที่สุด มีความเข้มข้น 1 มิลลิกรัมต่อลิตร นาน 1 วัน เท่ากับควบคุม มีความกว้างเฉลี่ย 1.30 เซนติเมตร
- เอกสารอ้างอิง :
กัลยาณี สุวิทวัส, พินิจ กรินท์ธัญญกิจ, องอาจ หาญชาญเลิศ และรักเกียรติ ชอบเกื้อ. 2549.
กำรศึกษำลักษณะทำงสัณฐำนวิทยำเพื่อกำรจัดจำแนกพันธุ์กล้วยตำนีในประเทศไทย. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่คณะเกษตรศาสตร์ ภาควิชาพืชสวน, เชียงใหม่.
จิรพันธ์ ศรีทองกุล. 2546. ผลของสูตรอำหำรในกำรเพำะเลี้ยงเนื้อเยื่อและวัสดุปลูกกล้วยนวล
วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ไซนีย๊ะ สะมาลา. 2555. ผลของโคไซซินและออนไลน์ต่อกำรเปลี่ยนแปลงชุดโครโมโซม ในต้นอ่อน
ชุดที่ 2 ของปำล์มน้ำมัน. วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ณัฐพงค์ จันจุฬา. 2555. กำรเพำะเลี้ยงเอ็มบริโอ และกำรชักนำให้เกิดกำรกลำยพันธุ์ ภำยใต้สภำวะปลอดเชื้อในหงส์เหิน. วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
เดช วัฒนชัยยิ่งเจริญ และ ชานาญ ทองกลัด. 2536. สถานการณ์กล้วยในตลาดโลกที่มีผลต่อการผลิตและส่งออกกล้วยของประเทศไทย. ข่ำวสำรสถำบันวิจัยพืชสวน 7(1): 1-11.
นพมณี โทปุญญานนท์, นรวรา ชัยเลิศ และ พรศักดิ์ บุญมณี. 2547. การศึกษาระยะเวลาและจานวนครั้งในการได้รับอาหารของไบโอรีแอคเตอร์จมชั่วคราวแบบขวดแฝดในการเพิ่มปริมาณต้จิ๋วปทุมมาลูกผสม CW06. วำรสำรวิทยำศำสตร์เกษตร 36(3) : 70-75
เบญจมาศ ศิลาย้อย, ฉลองชัย แบบประเสริฐ และกัลยาณี สุวิทวัส. 2556. กำรปลูกและกำรดูแล กล้วยไข่เกษตรศำสตร์ 2. ครั้งที่ 2. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
เบญจมาศ ศิลาย้อย. 2545. กล้วย. ครั้งที่ 3. สำนักพิมพ์มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์, กรุงเทพฯ. เบญจมาศ ศิลาย้อย ฉลองชัย แบบประเสริฐ และกัลยาณี สุวิทวัส, 2551. กล้วยไข่เกษตรศาษสตร์ 2 คู่มือกำรปลูกและกำรดูแล. แหล่งที่มา: https://puechkaset.com, 25 มิถุนายน 2561.
พรศักดิ์ บุญมณี. 2555 .กำรพัฒนำระบบไบโอรีแอคเตอร์จมชั่วครำวต้นทุนต่ำเพื่อใช้ในกำร เพำะเลี้ยงเนื้อเยื่อปทุมมำ.วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโทม, มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
พินิจกรินท์ ธัญญกิจ, กัลยาณี สุวิทวัส และรักเกียรติ ชอบเกื้อ. 2549. กำรขยำยพันธุ์กล้วยคุนหมิงในสภำพปลอดเชื้อ, ในรายงานการประชุม KKU Annual Agriculture Seminar for Year 2006: หน้า 2.
ภาสันต์ สารทูลทัด. 2536. กำรศึกษำสูตรอำหำรที่เหมำะสม ต่อกำรเกิดรำกของต้นอ่อนกล้วยไข่ ที่ ฉำยรังสี. ปัญหาพิเศษปริญญาตรี, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
วนิดา ดวงก้งแสน. 2547. กำรเพำะเลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยพัด. วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท,มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
25
สลิลดา เกตกะโกมล. 2552. กำรเหนี่ยวนำให้ต้นอ่อนกล้วยหิน กลำยพันธุ์ด้วยสำรออไรซำลินใน สภำพเพรำะเลี้ยงเนื้อเยื่อ. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สิรนุช ลามศรีจันทร์. 2536. กำรกลำยพันธุ์ของพืช. ห้างหุ้นส่วนจากัด ฟันนี่พับบลิชชิ่ง,กรุงเทพมหานคร.
Bekheet, S.A. and M.M. Saker. 1999. Rapid mass micropropagation of banana. Bulletin of the National Reserch Center, Cario. 24 (2): 221-232.
Dvorakova, K. 1997. Pharmacokinetic studies of the herbicide and antitumor compound oryzalin in mice, Journal of chromatography. 6 (2): 275-281
Hassawi, D.S. and G.H. Liang. 1991. Antimitotic agents:effect of double haploid production in wheat. Crop Sci. 31(3): 273-726.
Madon, M., M M. Clyde , H. Hashim, M. Yusuf, H. Mat, and H. Saratha, 2005. Polyploidy induction of oil palm through colchicine and oryzalin treatments. Journal of Oil Palm Research, 17: 110- 123.
Madon, M; Clyde, M M; Hashim, H; Mohd Yusuf, Y; Mat, H and Saratha, S. 2005. Polyploidy induction of oil palm through colchicines and oryzalin treatment. Journal of Oil Palm Research 17: 110-123.
Novak. F.J., H. Brunner, R. Afza and M. van duran. 1993. Mutation breeding of Musas.p.(banana, plantain). Mutation Breeding Newsletter 40:2-4.
Oregon state university and Intertox, Inc. "Washington state deparment of transportation oryzalin", roadside vegetation management herbicide fact sheet. Available sarse www.wsdot.wa.gor/oryzalin. 25.July, 2018.
Stanys, V., A. Weckman, G. Staniene and P. Duchovskis. 2006. In vitro induction of polyploidy in Japanese quince (Chaenomeles japonica). Plant Cell, Tissue and Organ Culture 84: 263-268.
Silayoi B. and P. Saradhuldhat 2001. Some chemical treatments on KluaiKhai through tissue culture for mutation breeding.Kasetsart Journal (Natural Sciences) 3 (3): 231-241.
Thao N.T.P., K. Urishino, I. Miyagima, Y. Ozaki and H. Okubo. 2003. Induction of tetraploids in ornamental Alocasia through colchicines and oryzalin treatments. Plant Cell, Tissue and Organ Culture 72: 19-25.
|