งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการเสริมยีสต์ในอาหารไก่ไข่ต่อคุณภาพไข่ โดยวางแผน การทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design : CRD) แบ่งการทดลองออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว เป็นไก่ไข่พันธุ์โรมันบราวน์ อายุ 28 สัปดาห์ จำนวน 150 ตัว ระยะเวลาในการทดลอง 12 สัปดาห์ กลุ่มทดลอง คือ กลุ่มที่ 1 อาหารปกติ กลุ่มที่ 2 อาหารปกติเสริมเซลล์ยีสต์ 5% กลุ่มที่ 3 อาหารปกติเสริมยีสต์เซลล์แตก 2% ผลการทดลองปรากฏว่า น้ำหนักไข่เฉลี่ยต่อฟอง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) โดยกลุ่มที่เสริมเซลล์ยีสต์ 5% มีน้ำหนักมากกว่ากลุ่มที่ได้รับอาหารปกติ และกลุ่มที่เสริมยีสต์เซลล์แตก 2% เปอร์เซ็นต์เปลือกไข่ และค่าความถ่วงจำเพาะของกลุ่มที่ได้รับอาหารปกติมีแนวโน้มจะมีค่าต่ำที่สุด และค่าฮอกยูนิต เปอร์เซ็นต์ไข่แดง เปอร์เซ็นต์ไข่ขาว ดัชนีไข่แดง ความหนาเปลือกไข่ และสีไข่แดง แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญ ทางสถิติ (P>0.05) ดังนั้นการเสริมเซลล์ยีสต์ 5% ในอาหารจะช่วยเพิ่มน้ำหนักไข่ กนกทิพย์ ปัญญาไชย และ มงคล ยะไชย. 2557. บทบาทของผนังเซลล์ยีสต์ในการเป็นสารเสริม อาหารสัตว์. วารสารสัตวศาสตร์แห่งประเทศไทย. 1(2): 1-10. กานดา ล้อแก้วมณี. 2560. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพไข่. ข่าวสารเกษตรมหาวิทยาลัยเกษตร ศาสตร์. 60(2): 1-18. กานต์ชนา พูนสุข. 2558. การใช้โปรไบโอติกและประโยชน์ของการใช้โปรไบโอติกในปศุสัตว์. สมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ. แหล่งที่มา: https://www.swinethailand.com. 10 สิงหาคม 2561. จรัญ จันทลักขนา. 2557. สถิติวิธีวิเคราะห์และวางแผนงานวิจัย. พิมพ์ครั้งที่5. ไทยวัฒนา พาณิช. กรุงเทพฯ. จิระพันธ์ สิงคุณา. 2552. การศึกษาคุณภาพภายในของไข่จากการเสริมแร่ธาตุในน้ำกินสำหรับ ไก่ไข่. ปัญหาพิเศษ. คณะเทคโนโลยีการเกษตร สาขาวิชาการผลิตสัตว์และประมง. สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, กรุงเทพฯ. ชุมพล สุวรมงคล, เสกสม อาตมางกูร, เนรมิต สุขมณี และปุณฑริกา หะริณสุต. 2538. การศึกษา การตอบสนองของไก่ไข่ต่อระดับพลังงานและโปรตีนในสภาพอุณหภูมิสภาพแวดล้อมที่ สูง. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ไชยา อุ้ยสูงเนิน. 2533. การเลี้ยงไก่ไข่. พิมพ์ครั้งที่ 4. สมาคมการเลี้ยงไก่ไข่. กรุงเทพฯ. ญาณิศา รัชดาภรณ์วานิช, ศักดา ประจักษ์บุญเจษฎา, สมศักดิ์ เภาทอง และธำรงศักดิ์ พลบำรุง. 2555. การทดสอบสูตรอาหารไก่ไข่ : 1) ผลของการเสริมเมทไธโอนีนในสูตรอาหารไก่ไข่. รายงานผลงานวิจัยสำนักพัฒนาอาหารสัตว์ ประจำปี พ.ศ. 2555 กรมปศุสัตว์ กระทรวง เกษตรและสหกรณ์: 18-31. ถาวร ฉิมเลี้ยง. 2542. โภชนะศาสตร์สัตว์. คณะเกษตรและอุสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏ รำไพพรรณี, จันทบุรี. ธัญหทัย สุขสมพืช, มณฑิชา พุทซาคำ, และ วรินธร มณีรัตน์. 2560. ผลการใช้กากมันสำปะหลัง หมักยีสต์ต่อสมรรถภาพการผลิตในไก่ไทยละโว้. น. 377-384. ใน การประชุมทางวิชาการ ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 55. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. พัชรี ชนะชัย. 2554. ผลของการเสริมพรีไบโอติก (Aspergillus meal) ในอาหารต่อสมรรถภาพ การผลิต คุณภาพไข่ และจุลินทรีย์ในทางเดินอาหารของไก่ไข่. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงษ์ และนิธิยา รัตนาปนนท์. ม.ป.ป. (ก) Egg / ไข่. แหล่งที่มา: http://www.foodnetworksolution.com, 25 มิถุนายน 2561. พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงษ์ และนิธิยา รัตนาปนนท์. ม.ป.ป. (ข) Haugh Unit / ฮอก. แหล่งที่มา: http://www.foodnetworksolution.com, 25 มิถุนายน 2561. ภาวิณี แก้วกรูด. 2557. ผลของยีสตหมักต่อการเจริญเติบโตและการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันแบบ ไมจำเพาะของปลานิล. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ภุชงค์ วีรดิษฐกิจ และไพโชค ปัญจะ. 2558. อิทธิพลของการเสริมใบมะรุมผงในอาหารไก่ไข่ ต่อ สมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 23(2): 293- 305. รพีพร คำรัตน์. 2542. การดูดซับโลหะหนักโดยใช้กากยีสต์จากโรงงานเบียร์. วิทยานิพนธ์ปริญญา โท, มหาวิทยาลัยมหิดล. วัชระ แลน้อย, วีรพงษ์ กันแก้ว, กิตติพงศ์ สมุดความ, ธีระพฤศ สุขวงศ์, พิชญ์สินี เชียงแรง, กฤตภาค บูรณวิทย์. 2559. ผลของการเสริมส่าเหล้า ยีสต์ และโปรไบโอติกต่อผลผลิตไข่ ลักษณะซาก และคุณภาพเนื้อของไก่ ไข่ปลดระวาง. วารสารเกษตร 32(1): 103 – 110. ศรีสกุล วรจันทรา และรณชัย สิทธิไกรพงษ์. 2539. โภชนะศาสตร์สัตว์. ภาควิชาเทคโนโลยีการ ผลิตสัตว์คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง, กรุงเทพฯ. ศรุติวงศ์ บุญคง, ชัยพฤกษ์ หงษ์ลัดดาพร, สว่าง กุลวงษ์, สุธาสินี ครุฑธกะ และพิทักษ์ น้อยเมล์. 2561. การใช้กากมันสำปะหลังหมักยีสต์ในอาหารไก่ไข่ต่อสมรรถนะการผลิต คุณภาพไข่ และผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ. วารสารเกษตรพระวรุณ. 15(2): 372-381. สาวิตรี ลิ่มทอง. 2549. ยีสต์ : ความหลากหลายทางชีวภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 1. สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. สินีนาฏ พลโยราช และ เมธา วรรณพัฒน์. 2558. ศักยภาพในการใช้ยีสต์เป็นแหล่งโปรไบโอติกส์ใน สัตว์เคี้ยวเอื้อง. วารสารแก่นเกษตร 43(1): 191-206. สุชาติ สงวนพันธ์. 2547. การเลี้ยงดูไก่ไข่. เอกสารวิชาการ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ. สุวรรณ เกษตรสุวรรณ. 2529. ไข่และเนื้อไก่. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, สุวรรณี แสนทวีสุข, จักรพงษ์ ชายคง และ ศศินิชา โตชัยภูมิ1. 2555. ประสิทธิภาพการเสริมสาร สกัดเซลล์ยีสต์ร่วมกับอินนูลินในอาหารไก่ไข่. วารสารแก่นเกษตร 40 (2). 498-501. สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2549. ยีสต์…คุณประโยชน์ใน อุตสาหกรรม. กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. พิมพ์ครั้งที่ 1. บริษัท สเปเชียลตี้ ไบ โอเทค, กรุงเทพฯ. สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2553. มาตรฐานสินค้าเกษตร. แหล่งที่มา: www.acfs.go.th, 9 กันยายน 2561. อนุวัติ อุปนันชัย, วรณยู ขุนเจริญ, สุพัตร์ ศรีพัฒน์ และพิสมัย สมสืบ. 2551. การใช้ยีสต์เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพของอาหารกบนา น. 157-172. ใน รายงานการประชุมวิชาการประมง ครั้งที่ 12. สำนักวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด, กรุงเทพฯ. อภิวัฒน์ ยาจันทึก, กิตติศักดิ์ น้ำเพชร, อรุณี ดัชถุยาวัตร และ ศศิวภรณ์ คิดสุข. 2560. Feed Supplement and Feed Additive. แหล่งที่มา: http://apiwatnew.blogspot.com, 20 มีนาคม 2562. อารีรัตน์ โพธิ์งาม. 2553. ผลของการเสริมกากยีสต์ในอาหารต่อการเจริญเติบโต ค่าโลหิตวิทยา และการตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันในปลานิลแดง. สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ และประมง. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง. อาวุธ ตันโช. 2538. การผลิตสัตว์ปก. ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว คณะเทคโนโลยีการเกษตร. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง. สำนักพิมพโอเดียนสโตร, กรุงเทพฯ. Association of Official Analytical Chemists. 1995. Official Methods Analysis. 14thed. Washington D.C. Association of Official Analytical Chemists. Bhattacharjee, J.E. 1970. Microorganism as potential sources of food. Adv. In AppI.13: 139-159. Chen Y.C., G.C. Nakthon and T.C. Chen. 2005. Improvement of laying hen performance by dietary prebiotic chicory oligofructose and inulin. J. Poult. Sci. 4 : 103-108. Chung, S. H., J. Lee and C. Kong. 2015. Effects ofmulti strain probiotics on egg production and quality in laying hens fed dietscontaining food waste product. International Journal of Poultry Science 14(1): 19-22. Cristina G.R. and I.M. Pop. n.d. Imporvement of laying hen performances by dietary Mannanoligosaccharides supplementation. Seris Zoo Tehnie. Vol. 52. Delaney, R., A.M.R. Kennedy and B.D. Walley. 1975. Composition of Saccharomyces fragilis biomass grown on lactose permeat. J. Sci. Fd. Agric. 26: 1177-1186. Fernando, G.P.C., I.S. Nobra, L.P.G. Silva, C.C. Goulart, D.F. Figueiredo, and V.P. Rodrigues. 2008. The use of prebiotic and organic minerals in rations for Japanese laying quail. Poult. Sci. 7(4): 339-343. Frey, c.n. 1930. History and development of the yeast. Ind. Eng. Chem. 22: 1154- 1162. Grimes, J.l., D.V. Maurice, S. Lightsey and J.G. Lopez. 1997. The effect of dietary Fermacto on layer performance. J. Appl. Poult. 6: 366-403. Harms, R.H. and R.D. Miles. 1998. Reseach note: Influence of Fermacto® on the of laying hens when fed with different levels os methionine. Poult. Sci. 67:842- 844. Harrison, J.S. 1968. Yeast as a source of biochemical process. Biochem. 3(8): 59-62. Hokking, L. 2013. Effect of Cassava Pulp on Nutrient Digestibility, Production Performance, Egg Quality,egg Yolk Cholesterol and Microbial Population Change of Laying Hens. Degree Master of Sciencein Animal Production Technology, Graduate school, Suranaree University of Technology, Nakhon Ratchasima. (In Thai). Mboko H.B., J.S.Mabas and P.P. Adzona. 2010. Effect of housing system (battery cages versus floor pen) on performance of laying hens under tropical conditions in Congo Brazzavile. Res. J. Poult. Sci. 3(1): 1-4. Mokslai, Z.U. 2006. Influence of a prebiotic feed additive on some biochemical indices of Blood and intestinal microbiota of broiler chickens. J. Nutr. 4:57- 62.
Okrathok, S. 2013. Effects of Using Aspergillus oryzae Fermented Cassava Pulp as Feed in Laying Hens. Master degree of Science in Animal Production Technology, Graduate school, Suranaree University of Technology, Nakhon Ratchasima. (In Thai). Parvu, M. and M. T. Paraschivescu. 2014. Feeding Rhodotorula rubra yeast in egg yolk pigmentation (II). Romanian Biotechnological Letters 19: 9959-9963. Peppler, H.J. 1968. Amino acid composition of yeast grown on different spent sulfite liquors. J. Agric. Fd. Chem. 13:34-36. Pesti, G.M. 1991. Response surface approach to studying the protein and energy requirements of laying hens. Poultry Sci. 70: 103-114. Querol, A. and G. Fleet. 2006. Yeast in Food and Beveranes. The Yeast Handbook, Volume 2. Springer-Verlag Berlin Heidelberg, Germany. Rose, A.S. and J.S. Harrison. 1971. The Yeast Volume 2. Academic Press Inc., New York. Rozenbiom, Md, E. Zilberman and G. Gvaryahu. 1998. New monochromatic light source for laying hen. Poult. Sci. 77: 1695-1698. Shang, H. M., T. M. Hu, Y. J. Lu, and H. X. Wu. 2010. Effect of inulin on performance, egg quality, gut micro flora, serum and yolk cholesterol in laying hens. Poult. Sci. 51:791-796. Siam Agri Supply Co., Ltd. 2560. การใช้โปรไบโอติกในอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์ปีก. Siamagrisupply. แหล่งที่มา: https://www.siamagrisupply.com, 10 สิงหาคม 2561. Singh, K., P.N. Agarwal and W.H. Peterson. 1948. The influence of aeration and agitation on the yield, protein and vitamin content of food yeasts. Arch. Biochem. 18: 181-193.
Suxu He, Z., L. Yuchun, S. Pengjun, Y. Bin, R. Einar and Y. Ilkyu. 2009. Effects of dietary Saccharomyces cerevisiae fermentation product (DVAQUA®) on growth performance, intestinal autochthonous bacterial community and non- specific immunity of hybrid tilapia (Oreochromis niloticus ♀ ×O. aureus ♂) cultured in cages. Aquaculture 294: 99-107. Tomasik, P.J. and P. Tomasik. 2003. Probiotics and prebiotics. Cereal Chem. 80: 113-117. Waldroup, P.W., D.E. Greene, L.W. Luther and B.D. Jones. 1972. Response of turkey breeder hens to Vigofac and Fermacto supplementation. Poult. Sci. 51: 510-513. |