การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพซากและคุณภาพเนื้อของไก่พื้นเมืองพันธุ์ตองหนึ่ง ระหว่างเพศผู้และเพศเมีย จำนวน 20 ตัว แบ่งเป็นเพศผู้ 10 ตัวและเพศเมีย 10 ตัว ผลการทดลองพบว่าไก่เพศผู้มีน้ำหนักตัว น้ำหนักซาก เปอร์เซ็นต์ปีก เปอร์เซ็นต์น่องสูงและเปอร์เซ็นต์เท้า สูงกว่าไก่เพศเมียอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p≤0.05) ขณะที่เปอร์เซ็นต์อก เปอร์เซ็นต์สะโพก เปอร์เซ็นต์เครื่องในรวม และเปอร์เซ็นต์ซี่โครง ของไก่เพศผู้และเพศเมียไม่แตกต่างกันทางสถิติ (p≥0.05) นอกจากนี้ยังพบว่าเปอร์เซ็นต์ไขมันในช่องท้องของไก่เพศเมีย สูงกว่าไก่เพศผู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=0.05) สำหรับคุณภาพเนื้ออก พบว่าการสูญเสียน้ำขณะประกอบอาหารของไก่เพศผู้มีแนวโน้มสูงกว่า (p=0.07) ขณะที่การสูญเสียน้ำภายหลังจากการแช่เย็นและค่าแรงตัดผ่านเนื้อมีค่าไม่ต่างกัน ส่วนสีของเนื้อ พบว่า b* เพศเมียสูงกว่าไก่เพศผู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p≤0.05) มีค่าต่ำในไก่เพศผู้ (p<0.05) ขณะที่ค่า L* ไม่แตกต่างกันทางสถิติ (p>0.05) และค่า a* ของไก่เพศเมียมีแนวโน้มสูงกว่าไก่เพศผู้ จากผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าไก่เพศผู้มีคุณภาพซากดีกว่าไก่เพศเมีย ส่วนคุณภาพเนื้อและคุณภาพสีไม่แตกต่างจากไก่เพศเมีย กรมปศุสัตว์. 2560. สรุปข้อมูลและสถิติจานวนเกษตรไก่. 2554-2558. ศูนย์เทคโนโลยี สารสนเทศและ การสื่อสาร กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. แหล่งที่มา: http://esc.agritech.doae.go.th. 20 กุมภาพันธ์ 2562. กองบำรุงพันธุ์สัตว์. 2560. ลักษณะและมาตรฐานไก่พื้นเมืองไทย. กรมปศุสัตว์. เจนรงค์ คามงคุณ, ชัยตรี บุญดี และอานวย เลี้ยวธารากุล. 2559. ความหลากหลายของไก่ พื้นเมืองในพื้นที่ ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย. แก่นเกษตร 44 (1): 37-42. โครงการวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพด้านปศุสัตว์. 2546. ลักษณะและมาตรฐานไก่พื้น เมืองไทย. กองบำรุงพันธุ์สัตว์ กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. ไชยวรรณ วัฒนจันทร์ อาภรณ์ ส่งแสง สุธา วัฒนสิทธิ์ พิทยา อดุลยธรรม และ เสาวคนธ์ วัฒนจันทร์. 2547. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ : คุณภาพซาก องค์ประกอบทางเคมี ลักษณะทาง กายภาพลักษณะเนื้อสัมผัสของเนื้อไก่คอล่อนและไก่พื้นเมือง. เสนอสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.) 136 น. ณวรรณพร จิรารัตน์, อุษณีย์ภรณ์ สร้อยเพ็ชร, ณิฐิมา เฉลิมแสน, ปุณเรศวร์ รัตนประดิษฐ์, สุภาวดี แหยมคง, ณรกลม เลาห์รอดพันธ์, ประภาศิริ ใจผ่อง, รังสรรค์ เจริญสุข, สนธยา นุ่มท้วม และทศพร อินเจริญ. 2559. ความหลากหลายของลักษณะภายนอกของไก่พื้นเมืองไทยในจังหวัดพิษณุโลก. แก่นเกษตร 44 (2): 395-400. บุญญฤทธิ์ มุ่งจองกลาง และสัจจา บรรจงศิริ. 2557. การศึกษาภูมิปัญญาการเลี้ยงไก่พื้นเมืองใน ประเทศไทย. ฐานข้อมูลงานวิจัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช: หน้า 125-129. บัญญัติ เหล่าไพบูลย์, พิชญ์รัตน์ แสนไชยสุริยา, อรุณีพงศ์สถาพร, และพิทักษ์ ศรีประย่า. 2542. รายงานการวิจัยการศึกษา การปรับปรุงการเลี้ยงไก่พื้นเมืองในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: การปรับปรุงสมรรถนะการผลิต. รายงานการวิจัยคณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น พรรณระพี อานวยสิทธิ์, คมสัน อานวยสิทธิ์ และสนิท ท้วมสกุล. 2543. ความหลากหลายของไก่ พื้นบ้าน เพศผู้. ในการประชุมทางวิชาการของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 38: หน้า 284-285. รัตนา โชติสังกาศ, สุภาพร อิสริโยดม และนิรัตน์ กองรัตนานันท์. 2537. การศึกษาเปรียบเทียบ ลักษณะการให้ไข่ และส่วนประกอบฟองไข่ของไก่พื้นเมืองและไก่ไข่ลูกผสมทางการค้า. ว.เกษตรศาสตร์ (วิทย.) 28(1): 38-48. วราภรณ์ เหลืองวันทา, สัญชัย จตุรสิทธา, อำนวย เลี้ยวธารากุล, อังคณา ผ่องแก้ว และชัยณรงค์ คันธพนิต. 2546. คุณภาพเนื้อและคุณภาพไขมันของไก่พื้นเมือง ไก่ลูกผสมสองสายและ สามสายพันธุ์. น. 52-63. ในการประชุมทางวิชาการครั้งที่ 41ระหว่างวันที่ 3-7 กุมภาพันธ์ 2546. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 52-63. สัญชัย จตุรสิทธา, ศุภฤกษ์ สายทอง, อังคณา ผ่องแก้ว, ทัศนีย์ สรางกูร และอำนวย เลี้ยวธารากุล. 2546. คุณภาพซากและคุณภาพเนื้อของไก่พื้นเมืองและสายพันธุ์ลูกผสม 4สายพันธุ์. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ต่อสำนักงานสนับสนุนการศึกษาวิจัย (สกว.) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. สถาบันอาหาร. 2551. อุตสาหกรรมไก่. กระทรวงอุตสาหกรรม.กรุงเทพฯ. แหล่งที่มา: www.nfi.or.th. 2 มิถุนายน 2561 สวัสดิ์ ธรรมบุตร. 2540. กลยุทธการอนุรักษ์และพัฒนาไก่พื้นเมืองไทย. สาส์นไก่และการเกษตร. 47(45): 13-16. สุวรรณ เกษตรสุวรรณ. 2538. การเลี้ยงไก่. กรุงเทพฯ 6: พิมพ์ครั้งที่ 7. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สุภาวดี แหยมคง. 2557. ความหลากหลายของลักษณะภายนอกของไก่พื้นเมืองไทยในพื้นที่ จังหวัดพิษณุโลก. Rajabhat J.Sci. Humanit. Soc. Sci. (2): 63-73. อานนท์ อินทพัฒน์. 2542. การเลี้ยงไก่ไข่. อักษรสยามการพิมพ์, กรุงเทพฯ. 104 น. อุดมศรี อินทรโชติ, ทวี อบอุ่น และสุรพล เสียงแจ้ว. 2540. อายุและขนาดที่เหมาะสมในการเลี้ยง ไก่ลูกผสมพื้นเมืองที่เหมาะสมในการบริโภคในครัวเรือน. รายงานผลงานวิจัยงานค้นคว้า และวิชาการผลิตสัตว์ประจำปี 2539. สาขา ปรับปรุงพันธุ์สัตว์และการจัดการฟาร์ม. 298-319. อภิชัย รัตนะวราหะ. 2536. การเลี้ยงไก่พื้นเมืองกับระบบการเกษตรของไทย. วารสารสัตวบาล. 3 (13): 11-13. อำนวย เลี้ยวธารากุลม, อรอนงค์ พิมพ์คำไหล และศิริพันธ์ โมราถบ. 2541. รายงานผลงานวิจัย ผลตอบแทนทาง เศรษฐกิจสำหรับการเลี้ยงไก่ลูกผสมพื้นเมือง โรดไอแลนด์เรดด้วยอาหาร และระยะเวลา ในการเลี้ยงต่างๆกัน. ประจำปี 2541. กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตร และสหกรณ์. กรุงเทพฯ. 23-32. Ding, H., Xu, R.J. and Chan, D.K.O. 1999. Identification of broiler chicken meat using a visible/nearinfraredspectroscopic technique. J. Sci. Food Agri. 79: 1382-1388. Wattanachant S., S. Benjakul and D.A. Ledward. 2004. Composition, color and texture ofThai Indigenous and broiler chicken muscles. Poultry Sci. 83: 123-128. |