- ชื่อเรื่อง : การศึกษาระยะการสุกของมะม่วงน้าดอกไม้เบอร์ 4 ต่อคุณภาพของไซรัป
- title : A STUDY ON RIPENING-STAGES OF NAM DOK-MAI MANGO NUMBER 4 ON QUALITY OF SYRUP
- ผู้แต่ง : นางสาวทักษญา ใจเย็น
อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ภาสุรี ฤทธิเลิศ หลักสูตร : สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร ประธานหลักสูตร : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วัฒนี บุญวิทยา ปีการศึกษา : 2562 - บทคัดย่อ :
งานวิจัยฉบับนี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณภาพทางกายภาพและทางเคมีของมะม่วงน้าดอกไม้เบอร์ 4 และไซรัปจากมะม่วงน้าดอกไม้เบอร์ 4 โดยน้าผลมะม่วงน้าดอกไม้ เบอร์ 4 จากสวนมะม่วงของเกษตรกรในจังหวัดพิษณุโลก ที่มีอายุการเก็บเกี่ยว 110 วันหลังดอกบาน ซึ่งมีความบริบูรณ์เต็มที่ น้ามาบ่มด้วยก๊าซเอทิลีน เป็นเวลา 2 วัน ที่อุณหภูมิห้อง ติดตามการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและทางเคมีของผลมะม่วงสุกทุกๆ 1 วัน เป็นระยะเวลา 6 วัน และน้าผลมะม่วงสุกในทุกๆ วัน มาผลิตไซรัป ผลการทดลองพบว่าผลมะม่วงสุกมีสีผิวเปลือก มีค่าความเป็น สีเขียวลดลง ค่า a* เป็นลบ และค่าสี b* เป็นสีเหลืองเพิ่มขึ น ในท้านองเดียวกับค่าสีของเนื อมะม่วง มีค่า a* เป็นบวก มีความเป็นสีแดงเพิ่มขึ น และค่าสี b* มีความเป็นสีเหลืองเพิ่มขึ น ค่าความเป็น กรด-ด่าง มีแนวโน้มเป็นด่างเพิ่มขึ นอยู่ในช่วง 3.98-5.57 ปริมาณกรดที่ไทเทรตได้มีแนวโน้มลดลงจากร้อยละ 9.33 เป็น 2.96 ปริมาณของแข็งทั งหมดที่ละลายน้าได้อยู่ในช่วง 14.96 ถึง 18.36 องศาบริกซ์ และลดลงตลอดระยะเวลาการสุก 6 วัน ส่วนการผลิตไซรัปจากมะม่วงน้าดอกไม้เบอร์ 4 ในทุกๆ วัน พบว่าไซรัปที่ได้มีสีเหลืองอมน้าตาลใส มีค่าการส่องผ่านแสง (% T650) อยู่ในช่วง 0.11 ถึง 0.92 โดยมีค่าความสว่าง (L*) ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ (p>0.05) ค่าสีแดง (a*) เป็นลบ และค่าสีเหลือง (b*) เป็นบวก มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ (p≤0.05) ปริมาณของแข็งทั งหมดที่ละลายน้าได้อยู่ในช่วง 65.90 ถึง 67.30 องศาบริกซ์ ค่าความเป็นกรด-ด่างอยู่ในช่วง 3.84-4.54 ปริมาณกรดทั งหมดที่ไทเทรตได้อยู่ในช่วงร้อยละ 10.13 ถึง 18.03 มีปริมาณน้าอิสระอยู่ในช่วง 0.77 ถึง 0.79 ค่าความหนืดอยู่ในช่วง 0.09-0.77 Pa.s และมีค่าร้อยละของไซรัปที่ผลิตได้ (% yield) อยู่ในช่วง 9.22 ถึง 16.90 ผลของการทดสอบทางประสาทสัมผัสพบว่าผู้บริโภคชอบไซรัปที่ผลิตได้จากมะม่วงน้าดอกไม้เบอร์ 4 ที่มีระยะการสุกในวันที่ 4 โดยให้คะแนนความชอบในด้านสี กลิ่นมะม่วง ความหวาน ความเปรี ยว ความชอบรวมในระดับคะแนนชอบปานกลาง
- เอกสารอ้างอิง :
กานดา หวังชัย, จ้านง อุทัยบุตร และวิลาวัลย์ ค้าปวน. 2551. ผลของระยะความบริบูรณ์ และ อุณหภูมิต่้าในการเก็บรักษาต่อคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของมะม่วงพันธุ์มหาชนกเพื่อการ ส่งออก. วิทยานิพนธ์ปริญญาตรี, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
กุลพร พุทธมี และ วริศชนม์ นิลนนท์. 2559. ผลของวิธีการสกัดน้าเงาะและการท้าให้เข้มข้นต่อ
คุณภาพของไซรัปเงาะและการประยุกต์ใช้เป็นสารให้ความหวานในผลิตภัณฑ์อาหาร. วารสารวิจัยร้าไพพรรณี 10 (2): 14-22.
จิระภา พงษ์จันตา, อัณณ์กาญจน์ นวลบุญเรือง, ลชินี ปานใจ และ ธัญลักษณ์ บัวผัน. 2553. การ
ผลิตน้าเชื่อม (ไซรัป) จากสับปะรดและพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์สารสีน้าตาลจากปฏิกิริยา เมลลาร์ดเพื่อใช้ประโชชน์ในผลิตภัณฑ์อาหาร. วิทยานิพนธ์ปริญญาตรี, มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ฉลองชัย แบบประเสริฐ. 2530. มะม่วง. เอกสารวิชาการ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ จันทริกาจ้ากัด.
ชิดชัย ปัญญาสวรรค์, วิชัย หฤทัยธนาสันติ์, เพ็ญขวัญ ชมปรีดา, ปริศนา สิริอาชา และ ธีรารัตน์
สังขวาสี. 2547. การพัฒนาไซรัปเข้มข้นจากกล้วยหอมทองโดยการใช้เอนไซม์, น.434-
441. การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั งที่ 42. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ไทยเกษตรศาสตร์. 2557. การสุกของผลไม้. ไทยเกษตรศาสตร์. แหล่งที่มา: http://www. thai
kasetsart.com. 18 กุมภาพันธ์ 2562.
ไทยอาชีพ. 2559. การปลูกมะม่วง. ไทยอาชีพดอทคอม. แหล่งที่มา: http://www.thaiarcheep.
com /20196.html. 18 ธันวาคม 2561.
ธีระ วัฒนศิริเวช. 2545. การศึกษาชนิดและปริมาณสารหอมระเหย น้าตาล และกรดบางชนิด
ในมะม่วงน้าดอกไม้สีทองที่มีระยะการสุกและสภาวะการสุกแตกต่างกัน. วิทยานิพนธ์
ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
นิรนาม. 2561. เอนไซม์(Enzyme). ไทยไบโอเทค. แหล่งที่มา: http://www.thaibiotech.info/
what-is-enzyme.php. 16 พฤศจิกายน 2561.
ปราณี อ่านเปรื่อง. 2547. เอนไซม์ทางอาหาร. พิมพ์ครั งที่4. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ
ปิยตา อารี และ วิชนี มีโต. 2557. การต้านอนุมูลอิสระและฤทธิ์ยับยั งเอนไซม์ไทโรซิเนสของ
สารสกัดมะม่วงน้าดอกไม้สุก (Mangiferaindica Linn.), น.213-221. การประชุม
วิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ครั งที่ 1.
39
พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์ และ นิธิยา รัตนาปนนท์. 2561. เอนไซม์(Enzyme). ไทยไบโอเทค.
แหล่งที่มา: http://www.thaibiotech.info/what-is-enzyme.php. 1 มกราคม2561.
พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์ และ นิธิยา รัตนาปนนท์. 2548. ไซรัปผลไม้. Food Network Solution
ศูนย์เครือข่ายข้อมูลอาหารครบวงจร. แหล่งที่มา: http://www. foodnetwork
solution.com/wiki/word. 1 มิถุนายน 2561.
พืชเกษตร. ม.ป.ป. มะม่วงน้าดอกไม้และการปลูกมะม่วงน้าดอกไม้. เว็บเพื่อเกษตรไทย.
แหล่งที่มา: https://puechkaset.com. 10 พฤศจิกายน 2561.
มยุรา วชิรศักดิ์. 2559. การพัฒนาผลิตภัณฑ์น้าตาลจากตะขบเพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิตทาง
การเกษตร. วิทยานิพนธ์ปริญญาตรี, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
มยุรา วชิรศักดิ์ชัย, อรวัลภ์ อุปถัมภานนท์ และ สุนัน ปานสาคร. 2560. ผลของเอนไซม์เพคติเนส
อุณหภูมิและระยะเวลาในการบ่มต่อคุณภาพไซรัปจากตะขบ. แก่นเกษตร 45 (3): 401- 408.
มะลิวัลย์ ไชยโย. 2554. การเปรียบเทียบคุณภาพของไซรัปที่ผลิตจากน้าตาลทรายและน้าอ้อย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
รอสมี ยะสะแต, สมชาย กล้าหาญ และขวัญชนก เรือนงาม. 2559. ผลชองสารดูดซับเอทิลีนต่อการ
เปลี่ยนแปลงทางด้านคุณภาพของสตอเบอรรี่. วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 3 (7):
26-32.
ศักยะ สมบัติไพรวัน, เทวรัตน์ ตรีอ้านรรค และกระวี ตรีอ้านรรค. 2555. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับ
ระยะการสุกของมะม่วงน้าดอกไม้หลังเก็บเกี่ยว. วารสารสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่ง
ประเทศไทย 18 (1): 52-58.
สังคม เตชะวงศ์เสถียร. 2559. สรีรวิทยาการสุกของผล. ภาควิชาพืชสวนคณะเกษตรศาสตร์.
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สุวิชญา บัวชาติ และสาวิตรี นุชเนื่อง. 2556. การผลิตไซรัปกล้วยไข่โดยกระบวนหมัก, น.406-413
รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการและน้าเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั งที่ 1.
หนังสือเกษตรแปรรูปFood& Drink Thai Business. 2548. ไซรัปผลไม้(Fruit Syrup). ปีที่ 1
(3): 107-110.
อรรณพ ทัศนอุดม, วรรณภา สระพินครบุรี และวาสนา ฉัตรด้ารง. 2557. ผลของวัตถุดิบกล้วยตาก ตกเกรดต่อคุณลักษณะทางกายภาพเคมีและจุลชีววิทยาของไซรัปกล้วยตาก. วารสาร วิทยาศาสตร์ขอนแก่น 42 (2): 360-371.
Mahendra, C. Deen, b. Mishra, K.K. and Jagendra, P.S. 2017. Studies on
Development of Syrup from Mango (Mangifera indica L.) Pulp and Aloe vera
40
(Aloe barbadensis Miller.) Gel Blend. Intermational Journal of Current
Microbiology and Applied Science. 6 (7): 2247- 2254.
|