- ชื่อเรื่อง : ผลของสารในกลุ่มออกซินต่อการเกิดรากและเจริญเติบโตของมันเทศประดับ
- title : Effect of Auxin on Rooting and Growing of Ornamental Sweet Potato
- ผู้แต่ง : นายวิสิฏฐ์ กมลหา
อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ณัฐพงค์ จันจุฬา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ประธานหลักสูตร : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กรรณิกา อัมพุช ปีการศึกษา : 2558 - บทคัดย่อ :
มันเทศประดับเป็นไม้ประดับที่มีลักษณะใบที่สวยงาม ปลูกเลี้ยงง่าย และปัจจุบันเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลายเพื่อใช้ในการประดับตกแต่งในรูปแบบไม้กระถาง ไม้ประดับแปลง แต่มีปัญหาในการขยายพันธุ์มันเทศประดับ คือการออกรากไม่สม่่าเสมอในระหว่างการตัดช่า จึงท่าการทดลองนี้เพื่อศึกษาสารควบคุมการเจริญเติบโตในกลุ่มออกซินต่อการเกิดราก และการเจริญเติบโตของมันเทศประดับ โดยใช้สาร 3 ชนิด คือ IAA NAA และ IBA ที่ระดับความเข้มข้นของสารแต่ละชนิด คือ 500 1000 และ 2000 มิลลิกรัมต่อลิตร และให้น้่ากลั่นเป็นชุดควบคุม โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) มี 10 สิ่งทดลอง การทดลองละ 15 ซ้่า ซ้่าละ 1 กิ่ง พบว่าสารในกลุ่มออกซิน แต่ละชนิดไม่มีผลต่อเปอร์เซ็นการเกิดรากของมันเทศประดับ แต่ความเข้มข้นที่เหมาะสมที่สุดในการชักน่าให้เกิดรากและความยาวรากเฉลี่ยสูงที่สุดคือการใช้ IBA 1000 มิลลิกรัมต่อลิตร (18.75 ± 6.86 ราก) และยาวที่สุด (17.50 ± 8.33 ซม) IAA 2000 มิลลิกรัมต่อลิตร สามารถท่าให้ต้นมันเทศมีความยาวและกิ่งแขนงมากที่สุด (20.00 ± 2.76 และ 1.80 ± 0.73 กิ่ง ตามล่าดับ) และ IAA 500 มิลลิกรัมต่อลิตรสามารถท่าให้ต้นมันเทศมีขนาดความกว้างและความยาวใบเฉลี่ยใหญ่ที่สุด (7.34 ± 0.65 และ9.60 ± 1.51 เซนติเมตร ตามล่าดับ)
- เอกสารอ้างอิง :
คนึงขวัญ วิชชุตเวส. 2556. กำรปรับปรุงพันธุ์มันเทศประดับโดยใช้รังสีแกมมำ. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
เจนจิรา ชุมภูคา, พรรณวิภา อรุณจิตต์ และ อารยา อาจเจริญ เทียนหอม. 2557. ผลของ IBA และ NAA ต่อกำรเกิดรำกและกำรแตกยอดในกิ่งปักชำหม่อนพันธุ์เชียงใหม่ 60. แก่นเกษตร 42 ฉบับพิเศษ 3. 162-167.
ฐณวัฒน์ มังคละเศรณี. 2551. ผลของ IBA ต่อกำรออกรำกของกิ่งปักชำตอองุ่นพันธุ์ SO4. ปัญหาพิเศษปริญญาตรี, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
พีรเดช ทองอาไพ. 2529. ฮอร์โมนพืชและสำรสังเครำะห์ แนวทำงกำรใช้ประโยชน์ในประเทศไทย. ไดนามิคส์พิมพ์, กรุงเทพฯ.
วันทนี สว่างอารมณ์. 2542. กำรเจริญและกำรเติบโตของพืช. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
สถาพร ดียิ่ง. 2542. ฮอร์โมนพืช. ฉะเชิงเทรา: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์
หนังสือพิมพ์บ้านเมือง. 2553. รำยงำนพิเศษ ม. เกษตรโชว์ใช้รังสีและนิวเคลียร์ 'สร้ำงพืชพันธุ์ใหม่'ปส.ยำชัดมำตรกำรดูแลควำมปลอดภัยต้องมำก่อน. แหล่งที่มา: http://www.ryt9.com /s/bmnd/988238, 1 มีนาคม 2556.
Candian Food Inspection Agency. n.d. Sweet Potato-Ornamental. Available Source: http://www.inspection.gc.ca/english/plaveg/pbrpov/cropreport/
spoe.shtml, February 15, 2016.
Gill, D. 2012. Ornamental sweet potato vine is a vivid garden accent. Available Source: http://www.nola.com/homegarden/index.ssf/2012/05/ornamental_
sweet_potato_vine_i.html, February 11, 2016.
Nelson, J. 2005. Plant Palette: Ornamental Sweet Potato. University of Illinois Extension. Available Source: http://web.extension.illinois.edu/macon/
palette/051023.html, March 2, 2016.
Taylor, J. 2009. Ornamental sweet potato vine: the morning glory’s cousin. Available Source: http://www.examiner.com/article/ornamental-sweet-potato-vine-the-morning-glory-s-cousin, February 11, 2016.
Wilson, J.E., F.S. Pole, N.E.J.M. Smit and P. Taufatofua. 1989. Sweet Potato (Ipomoea batatas) Breeding. Agro facts. IRETA Publications No. 89. 42 p.
21
Zósimo, H. 1999. Sweetpotato Germplasm management (Ipomoea batatas) training manual. International Potato Center (CIP). 218 p.
|