- ชื่อเรื่อง : ผลของใบกระถินในวัสดุเพาะต่อการเจริญของเส้นใยและการให้ ผลผลิตของเห็ดนางฟ้าภูฐาน
- title : EFFECT OF LEUCAENA LEUCOCEPPHALA LEAVES IN SUBSTATE ON MYCELIA GROWTH AND PRODUCT OF PLEUROTUS SP. BUTAN STRAIN
- ผู้แต่ง : นางสาวพิชญาภัค สมบุตร
อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ประธานหลักสูตร : อาจารย์ ดร.ราชาวดี ยอดเศรณี ปีการศึกษา : 2562 - บทคัดย่อ :
การศึกษาผลของใบกระถินในวัสดุเพาะต่อการเจริญของเส้นใยและการให้ผลผลิตของเห็ดนางฟ้าภูฐาน โดยเลี้ยงเชื้อเห็ดบนก้อนอาหารที่มีส่วนผสมของใบกระถิน 0, 5, 10, 15 และ 20 เปอร์เซ็นต์ พบว่า ก้อนอาหารสูตรที่ 2 ขี้เลื่อยผสมของใบกระถิน 5 เปอร์เซ็นต์ ให้การเจริญของเส้นใยดีที่สุด 18.19 เซนติเมตร หลังจากการเพาะเป็นเวลา 31 วัน ในเวลา 3 เดือน ให้ผลผลิตรวม 13 ครั้ง โดยให้จานวนดอกมากสุดเฉลี่ย 5.12 ดอกต่อครั้ง และให้น้าหนักมากสุดเฉลี่ย 47.70 กรัมต่อช่อ ความกว้างดอกมากสุดในสูตรที่ 1 ขี้เลื่อย 100 เปอร์เซ็นต์ เฉลี่ย 6.93 เซนติเมตร ความยาวก้านมากสุดในสูตรที่ 3 ขี้เลื่อยผสมใบกระถิน 10 เปอร์เซ็นต์ เฉลี่ย 10.84 เซนติเมตร ความกว้างก้านมากสุดในสูตรที่ 5 ขี้เลื่อยผสมใบกระถิน 20 เปอร์เซ็นต์ เฉลี่ย 1.81 เซนติเมตร
- เอกสารอ้างอิง :
กรมส่งเสริมการเกษตร. 2560. ความเป็นมาของเห็ดนางฟ้า. แหล่งที่มา: https://th.wikipedia. org, 16 มิถุนายน 2562.
จันจิรา รสพิกุล และ วารีย์ ทวนไธสง. 2559. การเพาะเห็ด. คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, บุรีรัมย์.
เจษฎา เหลืองแจ่ม. 2527. กระถินยักษ์. เอกสารเผยแพร่ทางวิชาการป่าไม้ กองบารุง กรมป่าไม้.
ณัฐภูมิ สุดแก้ว และ คมสันต์ หุตะแพทย์. 2552. ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของเห็ดนางฟ้า. แหล่งที่มา: http://www.chokdeefarm.in.th, 16 มิถุนายน 2562.
ดีพร้อม ไชยวงศ์เกียรติ์. 2525. การเพาะเห็ดบางชนิดในไทย. ภาควิชาชีววิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน, กรุงเทพฯ.
ธนกาญจน์ แช่มรัมย์ และ สุรีรัตน์ สุวรรณพัฒน์. 2561. การศึกษาวัสดุเพาะที่แตกต่างกันที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของเห็ดนางฟ้า. คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, บุรีรัมย์.
บุญส่ง วงศ์เกรียงไกร. 2542. วงจรชีวิตของเห็ดนางฟ้า. พิมพ์ครั้งที่ 2. เกษตรบุ๊ค, นนทบุรี.
ปัญญา โพธิ์ฐิติรัตน์ และ กิตติพงษ์ ศิริวานิชกุล. 2538. เทคโนโลยีการเพาะเห็ด. สานักพิมพ์รั่วเขียว, กรุงเทพฯ
ประจักษ์ สมรรถการอักษรกิจ. 2550. ลักษณะการเจริญเติบโตของเห็ดนางฟ้า. คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, บุรีรัมย์.
ประสาน ยิ้มอ่อน. 2541. การเพาะเห็ด. คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.
เมธาวี จันปัดดา. 2555. ลักษณะของดอกเห็ดนางฟ้า. แหล่งที่มา: http://pattayamushroom. blogspot.com, 23 มิถุนายน 2562.
ศูนย์ความรู้ด้านการเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2556. กระถิน. แหล่งที่มา: https://www.agkc.lib.ku.ac.th, 17 สิงหาคม 2562.
สมชาย แสงทอง. 2561. การเตรียมโรงเรือนเพาะเห็ดนางฟ้า. แหล่งที่มา: https://www.simuang. ac.th, 27 มิถุนายน 2562.
สถาบันการแพทย์แผนไทย. กระถิน. แหล่งที่มา: https://www.ittm-old.dtam.moph.go.th, 17 สิงหาคม 2562.
32
สานักงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. 2556. กระถินไทย. แหล่งที่มา: https://www.rspg.or.th, 29 สิงหาคม 2562.
สุภาพร พงศ์ธรพฤกษ์ และ ปริญญา ไกรวุฒินันท์. 2561. การใช้ประโยชน์ขี้เลื่อยไม้ไผ่เหลือทิ้งจากการทาตะเกียบมาผลิตเป็นวัสดุเพาะเห็ด. วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร. 5(พิเศษ): 20-26.
อัญชลี จาละ. 2557. การผลิตเห็ดหลินจือโดยใช้เศษใบไม้และกิ่งไม้หมักเป็นส่วนผสมของขี้เลื่อยยางพาราสาหรับทาก้อนเชื้อในแนวเศรษฐกิจพอเพียง. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 22(4): 495-500.
|