- ชื่อเรื่อง : อิทธิพลของรังสีแกมมาต่อการพัฒนาพันธุ์คาลล่าลิลลี่
- title : INFLUENCE OF GAMMA IRRADIATION TO IMPROVEMENT OF Zanyedeschia spp.
- ผู้แต่ง : นางสาวครรธรส กฤษณกรี
อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ณัฐพงค์ จันจุฬา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ประธานหลักสูตร : อาจารย์ ดร.ราชาวดี ยอดเศรณี ปีการศึกษา : 2562 - บทคัดย่อ :
คาลล่าลิลลี่ เป็นพืชที่เจริญเติบโตได้ดีในสภาพอากาศที่มีความชื้นสูง ปัจจุบันมีการนามาปลูกในเมืองไทยอย่างแพร่หลาย โดยการสร้างความหลากหลายของพันธุ์ใหม่ในพืชสามารถทาได้ด้วยการปรับปรุงพันธุ์ หรือทาให้เกิดการกลายพันธุ์โดยใช้รังสีชนิดต่าง ๆ หรือสารเคมี ดังนั้นในการศึกษาครั้งนี้จึงชักนาให้เกิดการกลายในต้นคาลล่าลิลลี่ ในสภาพปลอดเชื้อด้วยรังสีแกมมาแบบเฉียบพลันโดยนาชิ้นส่วนของต้นคาลล่าลิลลี่ เพาะเลี้ยงบนอาหารสูตร MS เป็นเวลานาน 14 วัน มาฉายรังสีแกมมาที่ปริมาณ 0 20 40 และ 60 เกรย์ ผลการศึกษาพบว่าเมื่อปริมาณรังสีแกมมาที่เพิ่มสูงขึ้นจะทาให้อัตราการรอดชีวิตของชิ้นส่วนพืชลดต่าลง คือที่ปริมาณรังสี 20 40 และ 60 เกรย์ มีอัตราการรอดชีวิต 100 80 และ 65 เปอร์เซ็น ตามลาดับ (20 16 และ 13 ต้น) ที่ปริมาณรังสี 60 เกรย์ พบลักษณะต้นอ่อนที่เกิดใหม่มีขนาดเล็ก แคระแกร็น หรือต้นมีสีน้าตาล และพบลักษณะต้นกลายทั้งหมด 6 ต้น (จากปริมาณรังสี 20 และ 40 เกรย์) คิดเป็น 15 และ 17 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ ซึ่งมีลักษณะใบหงิกงอ และมีแถบใบขาวตรงบริเวณขอบใบ
- เอกสารอ้างอิง :
กานดา ตันติยวรงค์. 2535. ผลของจิบเบอเรลลินแอซิคต่อการพัฒนาตาดอกและการเปลี่ยนแปลง ทางสรีรวิทยาของดอกและผลของลองกอง. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ชลอ ดวงดารา. 2539. ไม้ดอกประเภทหัว. คณะเกษตรและอุตสาหกรรม สถาบันราชภัฏราไพพรรณี, จันทบุรี.
ณัฐพงค์ จันจุฬา และ อัญชลี จาละ. 2557. การชักนาให้เกิดการกลายในต้นพิงกุยคูล่าโดยการฉาย รังสีแกมมา. Thai Journal of Science and Technology 3 (2) : 76-81.
พรีเดช ทองอาไพ. 2557. เอทิลีนและสารปลดปล่อยเอทิลีน. แหล่งที่มา: http://www.thaikasetsart.com/เอทีลีน/, 24 กันยายน 2561.
ภิญญารัตน์ กงประโคน และ นัททรียา จิตบารุง. 2560. การใช้รังสีแกมมาชักนาให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงทาง สัณฐานวิทยาในกุหลาบหนู. วารสารแก่นเกษตร ปีที่ 45 (1): 1296- 1302.
ยงศักดิ์ ขจรผดุงกิตติ และ อัญชลี จาละ. 2558. รังสีแกมมาแบบเฉียบพลันที่มีผลต่อเนื้อเยื่อหน้าวัว ในสภาพปลอดเชื้อ. Thai Journal of Science and Technology 4 (2): 177-184.
วันทนี สว่างอารมณ์. 2542. กรดแอบไซซิก. แหล่งที่มา: https://th.wikipedia.org/wiki/กรดแอบ ไซซิก, 24 กันยายน 2561.
สุพิชชา สิทธินิสัยสุข ธัญญะ เตชะศีลพิทักษ์ พีรนุช จอมพุก และ ณัฐพงค์ จันจุฬา. 2561. ผลของ รังสีแกมมาแบบเฉียบพลันต่อต้นลินเดอร์เนียในสภาพปลอดเชื้อ. Thai Journal of Science and Technology 7 (2): 158-168.
สัมฤทธิ์ เฟื่องจันทร์. 2544. กรดแอบไซซิก. แหล่งที่มา: https://th.wikipedia.org/wiki/กรดแอบ ไซซิก, 24 กันยายน 2561.
สิรินุช ลามศรีตันทร์ อรุณี วงศ์ปิยะสถิต และ พีรนุช จอมพุก. 2552. การฝึกอบรมโครงการถ่ายทอด เทคโนโลยี. การปรับปรุงพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับโดยการฉายรังสีแกมมา. ภาควิชารังสี ประยุกต์และไอโซโทป คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
หนังสือพิมพ์บ้านเมือง. 2553. รายงานพิเศษ ม. เกษตรโชว์ใช้รังสีและนิวเคลียร์ ‘สร้างพืชพันธุ์ใหม่’ ปส.ย้าชัดมาตรการดูแลความปลอดภัยต้องมาก่อน. แหล่งที่มา: http://www.ryt9.com/s/bmnd/988238, 26 กันยายน 2561.
อัญชลี จาละ. 2556. การชักนาให้เกิดการกลายในหม้อข้าวหม้อแกงลิงในสภาพปลอดเชื้อด้วยรังสี แกมมาแบบเฉียบพลัน. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 21 (1): 1-10.
อรดี สหวัชรินทร์. 2539. เทคโนโลยีการเพาะเลี ยงเนื อเยื่อ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้. 2547. การขยายพันธุ์คาลล่าลิลลี่ ด้วยวิธีการเพาะเลี ยงเนื อเยื่อ. อ้างอิงถึง Arinkit, S. 1992. A Study of Seed Gemination and Domancy Breaking Methods Seed, Storage Effect and Seed Development in Calla Lilly (Z. albomaculata Bail) Cultivar. Ph. D. Thesis. Messey University.
|