งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตนมถั่วเหลืองผสมชาเลือดมังกรผงโดยวิธีการอบแห้งแบบพ่นฝอย โดยศึกษาปริมาณใบชาเลือดมังกรที่เหมาะสมในการเตรียมน้ำนมถั่วเหลือง แปรปริมาณใบชาเลือดมังกร เป็น 5 ระดับ ได้แก่ ร้อยละ 1, 2, 3, 5 และ 10 ต่อปริมาณน้ำ (ที่ใช้เตรียมน้ำนมถั่วเหลือง) แล้ววิเคราะห์คุณภาพของ กายภาพ ทางเคมี และคุณภาพทางประสาทสัมผัส จากนั้นนำปริมาณใบชาเลือดมังกรที่เหมาะสมไปศึกษา ปริมาณมอลโตเด็กซ์ตรินที่เหมาะสมต่อคุณภาพของเครื่องดื่มผงและผงคืนรูป ผลการทดลอง พบว่าน้ำนม ถั่วเหลืองผสมชาเลือดมังกรมีสีม่วง เมื่อปริมาณใบชาเลือดมังกรเพิ่มขึ้นทำให้น้ำนมถั่วเหลืองมีสีม่วงเข้ม ค่าความ สว่าง (L*) และค่าความเป็นสีเหลือง (b*) ของน้ำนมถั่วเหลืองลดลง ค่าความเป็นสีแดง (a*) และค่าความอิ่มตัว ของสี (Chroma, c*) มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ค่ามุมของสี (Hue angle, h) มีเฉดสีไปทางเดียวกัน คือ สีม่วงแดง เมื่อเปรียบเทียบสีกับแผ่นเทียบสี (R.H.S. Colour Chart) ในกลุ่มสีแดง (FAN 2) เครื่องดื่มนมถั่วเหลืองผสม ชาเลือดมังกรมีเฉดสีม่วงโทนน้ำเงิน ปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายน้ำได้ ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติ (p>0.05) ค่าความเป็นกรด-ด่าง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ผลการทดสอบทางประสาทสัมผัสผู้บริโภคให้คะแนน ความชอบโดยรวมของนมถั่วเหลืองผสมชาเลือดมังกรที่มีปริมาณใบชาร้อยละ 2 ให้คะแนนความชอบอยู่ในระดับ ชอบมาก (8.130 คะแนน) แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p≤0.05) จากนั้นนำไปศึกษาปริมาณ มอลโตเด็กซ์ตริน แปรปริมาณมอลโตเด็กซ์ตรินเป็นร้อยละ 0, 5, 10, 15 และ 20 ต่อปริมาณนมถั่วเหลืองผสม ชาเลือดมังกรแล้วนำไปทำแห้งแบบพ่นฝอย ผลการทดลองพบว่าเครื่องดื่มผงและผงคืนรูปมีสีม่วง เมื่อ เปรียบเทียบสีกับแผ่นเทียบสีในกลุ่มสีแดง (FAN 2) ให้เฉดสีม่วงโทนน้ำเงินและสีม่วงโทนแดง โดยเครื่องดื่มผงมี ค่า L* เพิ่มขึ้น และค่า a*, b* และ c* ลดลง (p≤0.05) การเพิ่มปริมาณมอลโตเด็กซ์ตรินส่งผลต่อปริมาณผลผลิต และค่าความหนาแน่นที่เพิ่มขึ้น ปริมาณน้ำอิสระลดลง ส่วนผงคืนรูปมีค่าสี L* และค่าสี b* เพิ่มขึ้น ค่าสี a* และ ค่าสี c* ลดลง ค่ามุมของสี h มีเฉดสีแดงม่วง ค่าการละลายและปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายน้ำได้เพิ่มขึ้น (p≤0.05) ผลการทดสอบทางประสาทสัมผัส พบว่าผู้บริโภคให้คะแนนความชอบโดยรวมของผงคืนรูปที่มีปริมาณ มอลโตเด็กซ์ตรินร้อยละ 10 ในระดับคะแนนชอบปานกลาง (7.370 คะแนน) (p≤0.05) องค์ประกอบเคมีของ นมถั่วเหลืองผสมชาเลือดมังกรผงที่ได้มีปริมาณความชื้น โปรตีน ไขมัน เถ้า เส้นใย คาร์โบไฮเดรต ร้อยละ 4.346, 13.552, 1.728, 0.010, 0.363 และ 80.003 ตามลำดับ และมีค่าพลังงานทั้งหมดเท่ากับ 389.768 กิโลแคลอรี กมลวรรณ วารินทร์. 2562. การพัฒนาผลิตภัณฑ์กัมมี่เยลลี่จากมะม่วงหาวมะนาวโห่. วิทยานิพนธ์ ปริญญาตรี, มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. กล้าณรงค์ ศรีรอต และเกื้อกูล ปิยะจอมขวัญ. 2546. เทคโนโลยีของแป้ง. สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์: กรุงเทพฯ กาญจนา นาคประสม, รัชนก เสียงใหม่, วรัญญา เฟื่องชุ่ม, ศิริลักษณ์ เกิดศิริ, มุกริน หนูคง, อุมาพร อุประ, และนักรบ นาคประสม. 2558. อิทธิพลของสภาวะในการอบแห้งแบบพ่น ฝอยต่อคุณลักษณะกาแฟผง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. นครปฐม จารุณี ภิลุมวงค์ และ นิจปวริชศา ภพักตร์จันทร์. 2565. “ชาเลือดมังกร” สีสันพรรณพฤกษา. สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน). แหล่งที่มา:https://www.hrdi.or.th, 6 ตุลาคม 2665. ดวงพร คณาพรสุจริต. 2554. การผลิตเครื่องดื่มลำไยผงโดยการอบแห้งแบบพ่นฝอย. วิทยานิพนธ์ ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ธนมวรรณ ปั๋นแก้ว, กนกกาญจน์ หนองขุ่นสาร และศศิธร ใบผ่อง. 2559. ปริมาณมอลโตเด็กซ์ตรินที่ เหมาะสมในการผลิตเครื่องดื่มเยื่อฟักข้าวชนิดผง. วิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการ อาหาร 1 (1): 1-11. ธัญนันท์ ฤทธิ์มณ และอภิรดา พรปัณณวิชญ์. 2561. การใช้ประโยชน์จากซังข้าวโพดหวานสีม่วงใน การพัฒนาเครื่องดื่มผงพร้อมดื่มโดยการเอนแคปซูเลชันด้วยการทำแห้งแบบพ่นฝอย. วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก, มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. นิธิยา รัตนปนนท์. 2545. เคมีอาหาร. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. 487. หนูเดือน สาระบุตร, กรรนิกาส์ ห้วยแสน, พนอจิต นิติสุข, และอนันต์ พันธ์พิบูล. 2556. สมบัติทางกายภาพและการยอมรับของผู้บริโภคต่อขนมปุยฝ้ายเติมสีมะนาวโห่ที่มีมอลโต เดกซ์ตรินต่างกัน. วารสารวิชาการและวิจัย. มทร.พระนคร. (ฉบับพิเศษ): 399-405. บัณฑิตา ใจกล้า. 2565. วิธีทำน้ำเต้าหู้ โฮมเมดแบบเข้มข้น ได้ประโยชน์จากถั่วเหลืองไปเต็ม ๆ. SHOPEEBLOG. แหล่งที่มา: https://shopee.co.th/blog/homemade-soy-milkrecipe/. 8 สิงหาคม 2565. พรวิภา ปลอดห่วง. 2565. การผลิตชาเลือดมังกรพร้อมดื่มผสมอินูลินและคอลลาเจน. วิทยานิพนธ์ ปริญญาตรี, มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. ภชมน พิชญาจิตติพงษ์. 2556. การผลิตและสมบัติทางชีวภาพของสีผสมอาหารจากเปลือกแก้ว มังกรพันธุ์เนื้อผลสีแดง (Hylocercus polyrhizus). วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.
ภัคธีมา สุขพันธ์. 2552. การพัฒนาผลิตภัณฑ์นมถั่วเหลืองเสริมพรีไบโอติกสำหรับผู้บริโภคสูงอายุ. วิทยานิพนธ์ปริญญาตรี, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. มาฤดี ผ่องพิพัฒน์พงศ์, กรุณา วงษ์กระจ่าง, นิสากร มีจั่น, สยุมพร ใจดี และสุวิสาส์ กาญจนพิมล. 2556. การผลิตเครื่องผงจากถั่วเหลืองและงาดำที่ผ่านการเพาะงอก, 545-550. ประชุม วิชาการสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทยระดับชาติ ครั้งที่ 14 และระดับ นานาชาติ ครั้งที่ 6. สถาบันเทคโนโลยีพระจองเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, กรุงเทพฯ รุ่งนภา พงศสวัสดิ์มานิต. 2535. วิศวกรรมแปรรูปอาหารและการถนอมอาหาร. เทคโนโลยีพระจอม เกล้าคุณทหารลาดกระบัง. กรุงเทพฯ วลัยกร นิตยพัฒน, 2558. วิทยาศาสตร์ของสี. คหกรรมศาสตร์ มศว. ปีที่ 13 (1): 3-11. ศิริพร สอนสมบูรณ์สุข. 2561. การพัฒนาผลิตภัณฑ์มะตูมผงสำเร็จรูปด้วยการอบแห้งแบบพ่น ฝอย. วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. ศิริรัตน์ ตูมนอก และจิตตรานนท์ เสือโต. 2560. การพัฒนาสูตรเจ รสจืด รสหวานและกลิ่นเมล่อน. วิทยานิพนธ์ปริญญาตรี, มหาวิทยาลัยสยาม. สโรบล สโรชวิกสิต และชัยรัตน์ ตั้งดวงดี. 2554. ผลของอุณหภูมิการอบแห้งและสารช่วยอบแห้งต่อ คุณภาพของน้ำสับปะรดผงโดยวิธีอบแห้งแบบพ่นฝอย. วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. 34 (3): 203-215. สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุโขทัย. 2560. ถั่วเหลือง ข้อมูลเพื่อการวางแผนสินค้าเกษตร จังหวัดสุโขทัย. 3-5. สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. 2558. มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนถั่วเหลืองผงชงดื่ม. มผช. 688/2558. สุธิดา อัครชะนียากร, ศิริกุล นิธิธนาธร และสิริกร ลิขิตวนิชกุล. 2564. ผลของวิธีการเตรียมถั่วเหลือง ต่อสมบัติทางเคมีกายภาพและประสาทสัมผัสของน้ำนมถั่วเหลือง และผลของอุณหภูมิ อบแห้งและปริมาณมอลโตเด็กซ์ตรินต่อคุณภาพของน้ำนมถั่วเหลืองผงด้วยวิธีอบแห้งแบบพ่น ฝอย. วิทยาศาสตร์ประยุกต์ 20(1): 137-153. สุรีย์ แถวเที่ยง. 2552. เครื่องดื่มน้ำนมถั่วเหลืองผสมน้ำแครอท. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. หนูเดือน สาระบุตร, กรรนิกา ห้วยแสน, พอจิต นิติสุข, และอนันต์ พันธ์พิบูล. 2556. สมบัติทาง กายภาพและการยอมรับของผู้บริโภคต่อขนมปุยฝ้ายเติมสีมะนาวโห่ที่มีมอลโตเด็กซ์ ตรินต่างกัน. วารสารวิชาการและวิจัย. มทร.พระนคร. (ฉบับพิเศษ): 399-405. อภิรดา พรปัณณวิชญ์. 2565. เครื่องดื่มผงเพื่อสุขภาพจากข้าวเหนียวลืมผัวและไหมข้าวโพดสีม่วง. วิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ 14 (20): 1-14. เอกดนัย กอกิมพงษ์. 2548. Spray dryer เครื่องทำแห้งแบบพ่นฝอย. LAB.TODAY. 4(28):43-46.
AOAC. 2000. Official Methods of Analysis of AOAC International. 17 th ed., Maryland, USA. Ben, S., Salah, E.B. Flamini, G. Arem, A.E. Issaoui, M. Dabbou, S. Benyahia, L. Ferchichi, A. Hammami and M. Achour, L. 2012. Compositional characteristics and aromatic profile of date palm seeds from seven varieties grown in Tunisia. J. Food Sci. Technol. 47: 1903-1908. Eroglu, E., Tontul, I., and Topuz, A. 2018. Optimization of aqueous extraction and spray drying conditions for efficient processing of hibiscus blended rosehip tea powder. Journal of Food Processing and Preservation, 42(6), e13643. Yustina I. N., Istikomah and F.R. Abadi. 2020. Some physical characteristics and protein content of soybean for instant soymilk. agriTECH. Vol. 40 (2): 102- 109. Mishra, P., Rai, G. K. and Mahanta, C. L. 2015. Process standardization for development of spray-dried lemon juice powder and optimization of amlalemon based RTS (read-to-serve) drink using response surface methodology. Journal of Food Processing and Preservation, 39(6), 1216-1228. Khue, D.B., D.S. Mai., P.M. Tuan., D.T.B. Oanh and L.T.H. Van. 2014. Peristrophe roxburghiana - a review. Annals. Food Science and Technology. 15: 1-9. Ramos, P., R, Herrera and M.A.M., León. 2014. Anthocyanins: Food Sources and Benefits to Consumer’s Health. 1-23. Sedighe, M., Jafari S.M, Maghsoudlou, Y. and Dehnad, D. 2019. Influence of pectinwhey protein complexes and surfactant on the yield and microstructural properties of date powder produced by spray drying. J. FOOD. ENG. 242: 124-132. Shams, R., Singh, J., Dash, K. K., Dar, A. H., Nayik, G. A., Ansri, M. J., Hemeg, H. A., Ahemed, A. E. M., Shaikh, A. M. and Kovacs, B. 2022. Effect of maltodextrin and soy protein isolate on the physicochemical and flow properties of button mushroom powder. Frontiers in Nutrition. 1-14. Wong, C. W., Teoh, C. Y., and Putri, C. E. 2017. Effect of enzymatic processing, inlet temperature and maltodextrin concentration on the rheological and physicochemical properties of spray dried banana (Musa acuminata) powder. Journal of Food Processing and Preservation, 42(2). |