การศึกษาผลของการเสริมน้ำหมักปลาต่อการเจริญเติบโตของเส้นใยเห็ดนางฟ้าภูฐาน โดยการเสริมน้ำหมักปลาในสูตรที่ 2 วัสดุเพาะหมักเติมน้ำหมักปลา ให้การเจริญของเส้นใยดีที่สุด 22.6 เซนติเมตร หลังจากเพาะเป็นเวลา 30 วัน สูตรที่ 2 วัสดุเพาะหมักเติมน้ำหมักปลา ให้จำนวดดอกมากที่สุด 13 ดอกต่อช่อ และให้น้ำหนักมากที่สุดเฉลี่ย 75.25 กรัมต่อช่อ ความกว้างดอกมากที่สุดในสูตรที่ 1 วัสดุเพาะไม่หมักและไม่เติมน้ำหมักปลาอยู่ที่ 110 มิลลิเมตร ความกว้างก้านดอกมากที่สุดในสูตรที่ 2 วัสดุเพาะหมักเติมน้ำหมักปลาอยู่ที่ 12 มิลลิเมตร ความยาวก้านดอก 15 เซนติเมตร ความหวาน 3.8 บริกซ์ หลังเปิดดอก กรมส่งเสริมการเกษตร. 2560. ความเป็นมาของเห็ดนางฟ้า. แหล่งที่มา: https://th.wikipedia.org, 16 มิถุนายน 2565. ขวัญนภา ธนะวัฒน์. 2558. ผลของน้ำหมักชีวภาพจากผัก ปลา และสมุนไพรที่มีต่อการ เจริญเติบโตและลักษณะทางสรีรวิทยาบางประการของโหระพาสีม่วงที่ปลูกในระบบไฮโดร พอนิกส์. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. ชลบุรี. จันจิรา รสพิกุล และ วารีย์ ทวงไธสง. 2559. การเพาะเห็ด. คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัย ราชภัฏบุรีรัมย์, บุรีรัมย์. ณัฐภูมิ สุดแก้ว และ คมสันต์ หุตะแพทย์. 2552. ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของเห็ดนางฟ้า. แหล่งที่มา: http://www.chokdeefarm.in.th, 16 มิถุนายน 2565. ดีพร้อม ไชยวงค์เกียรติ์. 2554. การเพาะเห็ดบางชนิดในไทย. ภาควิชาชีววิทยา มหาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน, กรุงเทพฯ. ธนกาญจน์ แช่มรัมย์ และ สุรีรัตน์ สุวรรณพัฒน์. 2561. การศึกษาวัสดุเพาะที่แตกต่างกันที่มีผลต่อ การเจริญเติบโตของเห็ดนางฟ้า. คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, บุรรีรัมย์. บุญส่ง วงศ์เกรียงไกร. 2556. วงจรชีวิตของเห็ดนางฟ้า. พิมพ์ครั่งที่ 2. เกษตรบุ๊ค, นนทบุรี. ประจักษ์ สรรถการอักษรกิจ. 2550. ลักษณะการเจริญเติบโตของเห็ดนางฟ้า.คณะ เทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, บุรีรัมย์. วีณารัตน์ มูลรัตน์. 2553. ประสิทธิภาพของน้ำหมักชีวภาพจากเศษปลาที่ใช้น้ำกากส่าเหล้า ทดแทนกากน้ำตาลต่อการเจริญเติบโตของผักโขม ผักกวางตุ้งฮ่องเต้ และผักบุ้งจีน. วิทยานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ. วุฒิกร จันทร์มาก และ ชาตรี เกิดธรรม. 2552. การศึกษาประสิทธิภาพของน้ำสกัดชีวภาพจาก ปลาที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของผักกวางตุ้งฮ่องเต้ที่ปลูกแบบไร้ดิน. วารสารดินและปุ๋ย. 1(27): 26-35. สมชาย แสงทอง. 2561. การเตรียมโรงเรือนเพาะเห็ดนางฟ้า. แหล่งที่มา: https://www.simuang. ac.th, 27 มิถุนายน 2565. อรรถ บุญนีธี. 2556. น้ำหมักปลา. แหล่งที่มา: https://www.hrdi.or.th, 27 มิถุนายน 2565. อัญชลี จาละ. 2557. การผลิตเห็ดนางรมขี้เลื่อยไม้ยางพาราสำหรับทำก้อนเชื้อในแนวเศรษฐกิจ พอ เพียง.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 22(4): 495-500. อานนท์ เอื้อตระกูล. 2554. การเพาะ เห็ดนางฟ้า. วารสารเห็ด. 15(10): 25-26. พราวมาส เจริญรักษ์. 2563. ศึกษาการผลของการใช้น้ำหมักจากเศษเห็ดในอัตราส่วนที่แตกต่าง กันต่อน้ำหนักต่อดอกเห็ดฟางในระยะดอกตูมรูปทรงกระดุม. สาขาการผลิตพืช คณะ เทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี, ปทุมธานี. |