งานวิจัยนี มีจุดประสงค์เพื่อ การทดแทนปลาย่างด้วยหนอนเยื่อไผ่ในผลิตภัณฑ์น้าพริกผักชายาโดยศึกษาการแปรปริมาณปลาย่าง:หนอนเยื่อไผ่ 4 ระดับ ได้แก่ 100:0, 75:25, 50:50, 25:75โดยมี 100:0 เป็นสูตรควบคุม เพื่อคัดเลือกระดับที่เหมาะสมโดยการทดสอบคุณภาพทางประสาทสัมผัสด้าน ลักษณะปรากฏ สี กลิ่น รสชาติ เนื อสัมผัส และความชอบรวม ผลการทดสอบทางด้านประสาทสัมผัส พบว่า ผู้บริโภคให้คะแนนการยอมรับทางด้านลักษณะปรากฏ สี กลิ่น รสชาติ เนื อสัมผัส และความชอบรวม มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ (p≤0.05) ซึ่งผู้บริโภคให้การยอมรับการทดแทนปลาย่างด้วยหนอนเยื่อไผ่ในน้าพริกผักชายา (แปรปริมาณปลาย่าง:หนอนเยื่อไผ่) ที่ระดับ 75 : 25 มากที่สุดโดยมีคะแนนความชอบรวมและคะแนนความชอบด้านอื่นๆมากที่สุด อยู่ในเกณฑ์ชอบมากเมื่อน้ามาวิเคราะห์คุณภาพทางด้านกายภาพและเคมีพบว่า ค่า aw และ ค่าสี มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ (p≤0.05) ซึ่งค่า aw เป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน มผช. 130/2556 ก้าหนดไว้ว่า วอเตอร์แอกทีวิตี ต้องไม่เกิน 0.6 พบว่า เมื่อเสริมหนอนเยื่อไผ่ผงในปริมาณที่มากขึ นส่งผลให้ค่าสีของผลิตภัณฑ์น้าพริกผักชายาคล้าขึ น (p≤0.05) จากการศึกษาคุณภาพทางด้านเคมีพบว่า ผลิตภัณฑ์น้าพริกผักชายาสูตรควบคุมมี เถ้า และคาร์โบไฮเดรตที่สูงกว่าสูตรที่ผู้บริโภคยอมรับ ส่วนสูตรที่ผู้บริโภคยอมรับ (ปลาย่างป่น:หนอนเยื่อไผ่ 75:25) มีความชื น และโปรตีนที่สูงกว่าสูตรควบคุม โดยมีเส้นใย ไขมัน และพลังงานทั งหมดมีแนวโน้มที่สูงกว่าสูตรควบคุม แต่ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ(p>0.05) ซึ่งมีค่าความชื นเป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน มผช. 130/2556 ก้าหนดไว้ว่า ความชื น ต้องไม่เกินร้อยละ 20 โดยน้าหนัก ผลการศึกษาต้นทุนการผลิตผลิตภัณฑ์น้าพริกผักชายาทดแทนปลาย่างด้วยหนอนเยื่อไผ่สูตรควบคุมและสูตรที่ผู้บริโภคยอมรับ (ปลาย่าง:หนอนเยื่อไผ่ 75:25) ราคาต่อขวด (80 กรัม) 20.62 บาท/กรัม และ ราคาต่อขวด (80 กรัม) 21.37 บาท/กรัม ตามล้าดับ ซึ่งสูตร 2 ราคาสูงกว่าสูตร 1 ร้อยละ 3.65 กนกวรรณ ปุณณะตระกูล, ยศพร พลายโถ และ อัจจิมา มั่นทน. 2559. พัฒนาผลิตภัณฑ์น้าพริกแห้ง จากเม็ดบัว. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. สาขา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 11 (1): 109-116. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน. 2547. เครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Crop Dryers). กรุงเทพฯ: 226 หน้า กรมอนามัย. 2544. ปลา กุ้ง สัตว์น้าอื่น ๆ และผลิตภัณฑ์. ส้านักพิมพ์ โรงพิมพ์ทหารผ่านศึก. กรินทร์. 2564. การพัฒนาผลิตภัณฑ์น้าพริกนรกปลาย่างทดแทนด้วยแมงสะดิ งผง. รายการวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. กองโภชนาการ. 2530. ตารางแสดงคุณค่าทางโภชนาการของอาหารไทย. กรุงเทพฯ: กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. กฤติยา ไชยนอก. 2562. คะน้าเม็กซิโก…ต้นไม้แสนอร่อย. ส้านักงานข้อมูลสมุนไพรคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. งามทิพย์ ภู่วโรดม. 2550. การบรรจุอาหาร (Food Packaging). โรงพิมพ์ บริษัท เอส.พี.เอ็ม. การพิมพ์ จ้ากัด, กรุงเทพฯ. จิตเกษม หล้าสะอาด. 2541. การศึกษาคุณค่าทางอาหารของแมลงที่กินได้ทางภาคใต้ตอนบน. จิตธนา แจ่มเมฆ และ อรอนงค์ นัยวิกุล. 2541. เบเกอรี่เทคโนโลยีเบื่องต้น. พิมพ์ครั งที่ 5. ส้านักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. ชุติมณฑภรณ์ ทับทิมเขียว และ นัฐนันท์ ทวีรัตน์ธนนท์. 2551. ขนมขบเคี ยวจากปลา. รายการวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ. ชิดชม ฮิรางะ, สิริพร สธนเสาวภาคย์, สุขเกษม สิทธิพจน์ และ วราภา มหากาญจนกุล. 2549. การพัฒนากระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์น้าพริกแกงไทยส้าเร็จรูป. กรุงเทพมหานคร: สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร. ชัยพร ทองประสพ. 2561. แผนธุรกิจผลิตผงโปรตีนจากตั๊กแตน Grasshopper Energy. วิทยานิพนธ์. ปริญญาโท. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ณพัฐอร บัวฉุน. พฤกษทางเคมี ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระฤทธิ์ในการยับยั งแอลฟา-อะไมเลสและแอลฟา-กลู โคซิเดสของสารสกัดคะน้าเม็กซิโก. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2020;15(1):118-32. 50 เดชา วิวัฒน์วิทยา. 2535. ชีววิทยาของหนอนเยื่อไผ่. เอกสารเสนอต่อที่ประชุมการป่าไม้ ประจ้าปี 2535. วันที่ 16-20 พฤศจิกายน 2535, กรมป่าไม้ บางเขน กรุงเทพฯ. ทัศนีย์ แจ่มจรรยา และ ยุพา หาญบุญทรง. ม.ป.ป. ความส้าคัญ ชนิดและคุณค่าทางโภชนาการของ แมลงกินได้. มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ทัศนีย์ แจ่มจรรยา, ชาญชัย ถาวรอนุกูลกิจ และ วิโรจน์ ขลิบสุวรรณ. 2542. แมลงที่ใช้เป็นอาหาร ของมนุษย์. แก่นเกษตร 27 (4): 173-181. ธิดารัตน์ พันโท. 2563. แมลงกินได้ : คุณค่าทางโภชนาการ และการแปรรูปเพื่อน้าไปใช้ประโยชน์. วารสารวิชาการอาหาร. 50 (1): 5-12. นิธิยา รัตนาปนนท์. 2550. เคมีอาหาร. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. _______ 2558. หลักการแปรรูปอาหารเบื องต้น. พิมพ์ครั งที่ 2 โอเดียนสโตร์. กรุงเทพฯ. นิรนาม. 2547. รวมมิตร: แมลงและตัวอ่อนของแมลง. Blogger. [ออนไลน์] เข้าถึงได้ที่: https://lang4fun.blogspot.com/2004/12/blog-post_02.html?m=1&fbclid=IwAR3 CDSwVVfVrCb88OtQdf1cx9N1rifZSimEAgSK0GUmiG1mgFCTv2TxV0Ug. 17 มีนาคม 2564. นิรนาม. 2563. ปลาสร้อย/ปลาสร้อยขาว แหล่งที่พบ ประโยชน์ และราคา. Siamroommate. [ออนไลน์] เข้าถึงได้ที่: https://siamroommate.com/ปลาสร้อยขาว. 1 กันยายน 2563. นาฏชนก ปรางปรุ. 2560. การพัฒนากระบวนการท้าแห้งน้ามะขามเปียกด้วยเครื่องอบแห้งแบบ ลูกกลิ ง. วิทยานิพลธ์ปริญญาเอก, มหาวทิยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. นันทา กันตรี. 2550. น้าพริก : ฐานทรัพยากร วิถีชุมชนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์. นันทยา จงใจเทศ, ปิยนันท์ อึ งทรงธรรม, ภัทธิรา ยิ่งเลิศรัตนะกุล และ กานดาวสี มาลีวงศ์. 2554. ปริมาณโซเดียมคลอไรด์ในผลิตภัณฑ์อาหารที่มีเกลือเป็นส่วนประกอบ. ส้านักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. นันทยา จงใจเทศ, พิมพร วัชรางค์กุล, ปิยนันท์ เผ่าม่วง และ เพ็ญพโยม ประภาศิริ. 2548. คุณภาพ โปรตีนและไขมันในแมลงที่กินได้. วารสารโภชนาการ. 40 (1): 11-17. นันทนา วงษ์ไทย. 2559. การศึกษาชื่อน้าพริกใน 4 ภาค : สะท้อนความเป็นอยู่และวัฒนธรรม ไทย. ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ว.ศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) 8 (16): 88-100. 51 นันท์ปภัทร์ ทองค้า. 2562. การพัฒนาน้าพริกน้าพริกนรกปลาย่างของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตร ปลอดภัย ต้าบลคลองห้า จังหวัดปทุมธานี. หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร. มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. นริศรา วิชิต และ วรารัตน์ เสาร์จันทร. ม.ป.ป. การศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของน้าพริก แอปเปิลในระหว่างการวาจ้าหน่าย. ปศุสัตว์.คอม. ม.ป.ป. ปลาสร้อย และประโยชน์จากปลาสร้อย. [ออนไลน์] เข้าถึงได้ที่: https://pasusat.com/ปลาสร้อย. ปิยะนุช ไชยวุฒิ และ ไกร โพธิ์งาม. 2552. คุณค่าทางโภชนาการของแมลงกินได้. [ออนไลน์] เข้าถึงได้ที่: http://gsmis.gs.kku.ac.th/student/student_detail/485020037. 10 กรกฎาคม 2563. พงศ์พิพัฒน์ สนม และ กมลวรรณ แจ้งชัด. 2563. ผลของจิ งหลีดผงโปรตีนถั่วเหลืองสกัด และแซนแทนกัมที่มีต่อคุณภาพคุกกี แป้งข้าวเจ้า. วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร 14 (2): 72-84 พรพล รมย์นุกูล. 2545. การถนอมอาหาร. บริษัท โอ.เอส. พริ นติ ง เฮ้าส์, กรุงเทพมหานคร. พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์ และ นิธิยา รัตนาปนนท์. ม.ป.ป. Dehydration / การท้าแห้ง. Food Network Solution. [ออนไลน์] เข้าถึงได้ที่: http://www.foodnetworksolution. com/wiki/word/0277/dehydration-การท้าแห้ง. 18 กรกฎาคม 2563. แพรว พิม. 2563. น้าพริกนรกปลาย่าง (ปลาแห้ง). ครัวบ้านๆ แต่อร่อยดี. [ออนไลน์] เข้าถึงได้ที่: https://www.youtube.com/watch. 1 กันยายน 2563. ไพฑูรย์ เล็กสวัสดิ์. (2537) ชีวประวัติและศัตรูธรรมชาติของหนอนเยื่อไผ่ (Omphisa sp.) Pyralidae:Lepidoptera. รายงานผลงานวิชาการประจ้าปี 2537. ศูนย์วิจัยควบคุมศัครูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติ/ส้านักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 13 หน้า. ฟงหวิน ศักดิ์อัศวิน. 2563. จิ งหรีดโปรตีนแห่งอนาคต วัตถุดิบใหม่ในการผลิตอาหารยุคปัจจุบันผลิต โปรตีนผง & จิ งหรีดอบแห้ง. คม ชัด ลึก. [ออนไลน์] เข้าถึงได้ที่: https://www.komchad Lueknetnewslifestyle434462?fbclid=IwAR2Qp1tUAmEKSwe84Hwke4uoBQRON-PhuIdu9mwftASr8fseGBvSZlnTHU. 19 มีนาคม 2564. มาริษา ภู่ภิญโญกุล, ภูวดล หมอกยา และ วิชชา ตรีสุวรรณ. ม.ป.ป. การศึกษาลักษณะทางกายภาพ องค์ประกอบทางเคมีของจิ งหรีดทองแดงลายและการประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์คุกกี จีน. 52 มติชน ออนไลน์. 2559. คะน้าเม็กซิกัน ผักกินใบ ปลูกก่อน รวยก่อน. นิตยสารเส้นทางเศรษฐีออนไลน์. [ออนไลน์] เข้าถึงได้ที่: https://www.matichon.co.th/economy/news_10092. ยุวรัตน์ สพสุข, ศันศนีย์ หมัดหมะ และ ธิติมา จันทโกศล. ม.ป.ป. การพัฒนาผลิตภัณฑ์น้าพริกตา แดงโดยการเติมกระดูกปลาเพื่อเป็นแหล่งแคลเซียม. วารสารเทคโนโลยีการเกษตร 44-52. รุ่งทิพย์ วงศ์ต่อม, วิภาวัน จุลยา, ดวงฤทัย ธ้ารงโชติ, กฤติกา นรจิตร, วิรยา นาคอ่อน และ ชัยพร แป้งนวล. 2560. การพัฒนาต้ารับมาตรฐานบรรจุภัณฑ์ อายุการเก็บรักษาของน้าพริกแกงเผ็ดส้าหรับกลุ่มสตรีผลิตน้าพริกเผา เรือนไทย. วารสารวิจัย UTK ราชมงคลกรุงเทพ 11 (2): 39-52. ลีลา กญิกนันท์. 2540. การวิจัยหนอนกินเยื่อไผ่และเทคนิคการเพาะเลี ยง. ส่วนวิจัยผลิดผลป่าไม้. ส้านัก วิชาการป่าไม้. กรมป่าไม้. วนิดา แซ่จึง. 2539. การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา การเจริญเติบโต และปริมาณสารอาหารที่พบ ใน หนอนเยื่อไผ่ (Omphisa sp., Pyralidae: Lepidoptera). วิทยาศาสตร์บัณฑิต. วรวิทย์ จัทร์สุวรรณ. 2554. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมีประยุกต์. วิทยาลัยเทคโนโลยี ภาคตะวันออก คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. วรวุฒิ สมศักดิ์, สุกัญญา ชาชิโย, สมเดช ศรีชัยรัตนกูล และ ชัยรัตน์ อุทัยพิบูลย์. 2558. ฤทธิ์ของ สารสกัดหอมแดงต่อความเสียหายของตับและไตจากการติดเชื อมาลาเรีย. การประชุม หาดใหญ่วิชาการระดับชาติ. 6: 819-828. วิเชียร ลีลาวัชรมาศ. 2534. กลิ่นหอมซีอิ๊วมาจากไหน. วิทยาศาสตร์การอาหาร. 14: 40-45. วิวัฒน์ ตัณฑะพานิชกุล, TamonHavjime, Furuta Takeshi, Adachi Shuji and Shuichi Yamada. 2548. เทคโนโลยีอบแห้งในอุตสาหกรรมอาหาร. กรุงเทพฯ: ส้านักพิมพ์ ส.ส.ท. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี. หน้า 183. วัฒนี บุญวิทยา. 2562. คู่มือปฏิบัติการวิชาเทคโนโลยีขนมอบ. หลักสูตรวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีการอาหาร, คณะเทคโนโลยีการเกษตร, มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, ปทุมธานี. ศรีจรรยา จ้าปาศรี และ ศิรินันท์ ลูกเงาะ. 2560. น้าพริกหัวกุ้ง. รายงานการปฏิบัติงานสหกิจ ศึกษา. มหาวิทยาลัยสยาม. ศรีวรรณ ทองแพง.ลดอาหารหวาน หลีกเลี่ยงอาหารมัน รู้ทันอาหารเค็ม [อินเตอร์เน็ต]. 2558 เข้าถึงได้จาก : https://www.si.mahidol.ac.th/.../knowledges.../12_44_1.pdf ศรีเวียง ทิพกานนท์ และ วรรณทิชา ลาภศิริ. 2550. พฤติกรรมการบริโภคน้าพริกในจังหวัด ปราจีนบุรี. วารสารเกษตรนเรศวร 10 (1): 249-259. 53 ราณี สุรกาญจน์กุล และ ปกรณ์ อุ่นประเสริฐ. 2556. การผลิตปลาสวายรมควันและคุณค่าทาง โภชนาการ. วารสารการประมง 66 (1): 40-45. สังวาลย์ ชมภูจ้า. 2563. การพัฒนาผลิตภัณฑ์หมั่นโถวเชิงสุขภาพด้วยการเสริมน้าผักชายา. ว.วิทย .เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 21. ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2563. สุกฤตา อนุตระกูลชัย, สมสมร แก้วบริสุทธิ์ และ ยุพา หาญบุญทรง. 2557. การลดต้นทุนและเพิ่ม มูลค่าการเลี ยงจิ งหรีดบ้าน. แก่นเกษตร 42 (3): 329-336. สุนีย์ พะยอมแจ่มศรี และ สรเมษ ชโลวัฒนะ. 2555. ผลของอุณหภูมิ ปริมาณชนิด และความชื น ของวัสดุให้ควันต่อปริมาณ Polycyclic Aromatic Hydrocarbons (PAHs) ในปลารมควัน 2. 1-22. สุภางค์ เรืองฉาย และ สิรินาถ ตัณฑเกษม. 2554. คุณภาพการเก็บรักษาของน้าพริกมะขามผสม กระเจี๊ยบ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 31 (2): 89-98. สุปราณี เลี ยงพรพรรณ. 2550. การบริโภคแมลงส่งผลต่อมนุษย์อย่างไร. วารสารมหาวิทยาลัย ทักษิณ 10 (2): 1-11. สุปราณี หลักค้า, รัตนา สัมพันธชิต, อะเคื อ กุลประสูติดิลก, ศรุดา นิติวรการ และ สัญญา ชีวะประเสริฐ. 2557. น้าพริก. โครงการรวบรวมและจัดเก็บข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทาง วัฒนธรรม. กรมส่งเสริมวัฒนธรรม. สุภกาญจน์ พรหมขันธ์, สุกัญญา สายธิ และ ชนิษฎา วงศ์บาสก์. 2563. ผลของสภาวะอบแห้งและ อายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์จิ งหรีดอบกรอบ. แก่นเกษตร 48 (1): 1-12. ส้านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.). 2544. กรุงเทพธุรกิจ มหัศจรรย์หนอนรถด่วนจากด่วน ธรรมดาเป็น “ด่วนพิเศษ”. ส้านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, กรุงเทพฯ. ส้านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. 2556. มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนน้าพริกป่นแห้ง มผช.130/2556. ส้านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม, กรุงเทพฯ. ส้านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. 2549. มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนปลาแห้ง มผช.6/2549. ส้านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม, กรุงเทพฯ. สง่า ดามาพงษ์, วศินา จันทรศิริ และ จงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี. 2549. พฤติกรรมการบริโภคและ ความปลอดภัยทางอาหารของน้าพริกที่คนไทยนิยมบริโภค. แผนงานอาหารและโภชนาการ ส้านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) กรมอนามัยและมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 54 สมสมร แก้วบริสุทธิ์. มปป. การแปรรูปแมลงเพื่อเพิ่มมูลค่า. [ออนไลน์] เข้าถึงได้ที่: https://home.kku.ac.th/orip2/orip_main/attach/knowledge_1407232647_bug% 20transformation.pdf. องอาจ ตัณฑวณิช. 2562. “คะน้าเม็กซิกัน” ปลูกง่าย กินง่าย เหมาะส้าหรับคนเมือง มีพื นที่จ้ากัด. [ออนไลน์] เข้าถึงได้ที่: https://www.technologychaoban.com/agricultural-technology/article_30468. อรนุช สีหามาลา, หนูเดือน สาระบุตร, พรประภา ชุนถนอม, และ ศุภชัย ภูลายดอก. 2561. คุณค่า ทางโภชนาการของแมลงกินได้ในจังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า 36 (2): 98-105. อัญชลี เนตตกูล. 2542. ผลของฮอร์โมนจูวีไนล์ต่อการสื นสุดระยะไดอะพอสของหนอนเยื่อไผ่. วิทยานิพนธ์หลักปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัญฑิต. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. อุษาพร ภูคัสมาส. 2559. ประโยชน์ของกระเทียม. อาหาร. 46 (1): 54-56. เอกอาทิตย์ ฤทธิเดชยิ่ง. 2560. ผลของสารคล้ายฮอร์โมนจูวีไนล์จากพืชต่อการเจริญของหนอนเยื่อไผ่ Omphisa fuscidentalis.ส้านักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.). AOAC. 2000. Official Methods of Analysis of AOAC International. 17th ed., Maryland, USA. Babalola, J.O. and O.O. Alabi. 2015. Effect of processing methods on nutritional composition, phytochemicals, and antinutrient properties of chaya leaf (Cnidoscolus aconitifolius). Afr. J. Food Sci. 9(12):560-565. Bacteriological Analytical Manual Online. 2001. Chapter 3 Aerobic Plate Count. UFDA. vilable Source: https://www.fda.gov/food/laboratory-methods-food/ bamaerobic-plate-count. 1 กันยายน 2563. Bacteriological Analytical Manual Online. 2001. Chapter 18 Yeasts, Molds and Mycotoxins. UFDA. Avilable Source: https://www.fda.gov/food/Laboratory methods-food/bam-yeasts-molds-and-mycotoxins. 1 กันยายน 2563. Castro RJS, Ohara A, Aguilar JGS and Domingues MAF. 2018. Nutritional, functional and biological properties of insect proteins: Process of obtaining, consumption and future challenge. Trends in Food Science and Technology. 76: 82-89. 55 Chan Jr., H.Y. and C.G. Cavaletto. 1978. Dehydration and storage stability of papaya leather. J. Food Science. 43: 1723-1725. David The Good. 2016. The survival gardener. [Online] Available from: http://www.thesurvivalgardener.com/varieties-of-chayaMayan Cooking Recipes, 1 August 2019. García-Rodríguez RV, Gutiérrez-Rebolledo GA, Méndez-Bolaina E, Sánchez-Medina A, Maldonado-Saavedra O, Domínguez-Ortiz MÁ, et al. Cnidoscolus chayamansa Mc Vaugh, an important antioxidant, anti-inflammatory and cardioprotective plant used in Mexico. J Ethnopharmacol 2014;151(2):937-43. Hall, G.M. 1997. Fish Processing Technolohy, 2nd ed. Chapman and Hall, New York. Jaing, M. 2009. Development of smoked and gelatin based product from catfish. Dissertation of philosophy. Auburn University. 148 pp. Carlos Ribeiro. J., R. C. Lima, M. R. G. Maia, A. A. Almeida, A. J. M. Fonseca, A. R. J. Cabrita and L. M. Cunha. Impact of defatting freeze-dried edible crickets (Acheta domesticus and Gryllodes sigillatus) on the nutritive value, overall liking and sensory profile of cereal bars. LWT- Food Science and Technology. vol. 113, pp. 1–7, 2019. Kraikruan W., S. Sukprakarn, O. Mongkolporn and S. Wasee. 2008. Capsaicin and dihydrocapsaicin contents of Thai chili cultivar. KU Journal (Nat. Sci.) 42 (4): 611-616. Kuti, JO. and E.S. Torres. Potential nutritional and health benefits of tree spinach. In: Janick J, editor. Progress in new crops. Arlington: ASHS Press VA;1996. P.516-520. Kuti JO, Konoru HB. Cyanogenic glycosides content in two edible leaves of tree spinach (Cnidoscolus spp.). J Food Compost Anal 2006;19(6-7):556-61. Kuti JO, Kuti HO. Proximate composition and mineral content of two edible species of Cnidoscolus (tree spinach). Plant Foods Hum Nutr 1999;53(4):275-83 56 Mgr olline. 2560. Unseen นาแห้วถึงฤดูบุกป่าออกล่าหา “หนอนไม้ไผ่”. [ออนไลน์] เข้าถึงได้ที่: https://mgronline.com/local/detail/9600000092207 Nongonierma A and FitzGerald RJ. 2017. Unlocking the biological potential of proteins from edible insects though enzymatic hydrolysis: A review. Innovation Food Science and Emerging Technologies. 43: 239-252. Osimani A., V. Milanović, F. Cardinali, A. Roncolini, C. Garofalo, F. Clementi, M. Pasquini, M. Mozzon, R. Foligni, N. Raffaelli, F. Zamporlini and L. Aquilanti. 2018. Bread enriched with cricket powder (Acheta domesticus): A Technological, microbiological and nutritional evaluation. Innovative Food Science & Emerging Technologies 48: 150-160. Rosa Machado C. and R. Cruz Silveira Thys. 2019. Cricket powder (Gryllus assimilis) as a new alternative protein source for gluten-free breads. Innovative Food Science & Emerging Technologies 56. Singtripop, T., Wanichacheewa, S., Tsuzuki, S., Sakurai, S. 1999. Larval growth and diapause in a tropic moth Omphisa fuscidentalis Hampson. Zoological Science.16: 725-733. Sosa., D.A.T. and Fogliano V. 2017. Potential of Insect-Derived Ingredients for Food Applications. INTECH. 215-231. Tao J, Davidov-Pardo G, Burns-Whitmore B, Cullen EM and Li YO. 2013. Effects of edible insect ingredientson the physicochemical and sensory properties of extruded rice products. Journal of Insects as Food and Feed. 3 (4): 263-277. Vink, Grijspssrdt. 1994. "Food preservation by hurdle technology". Food Technol. 48 (12) :28. Yi L., C. M.M. Lakemonda, L. M.C.Sagisb, V. Eisner-Schadlerc, A. van Huisd and M. A.J.S.van Boekel. 2013. Extraction and characterisation of protein fractions from five insect species. Food Chemistry 141 (4): 3341-3348. Zielinsk E, Karas M and Baraniak B. 2018. Composition of functional properties of edible insects and protein preparation there of. Food Science and Technology. 91: 168-174. |