- ชื่อเรื่อง : การยืดอายุการปักแจกันของเบญจมาศตัดดอกด้วยวิธีการต่าง ๆ หลังการเก็บเกี่ยว
- title : Extending the vase life of cut chrysanthemum flowers with different postharvest treatments
- ผู้แต่ง : นางสาวธริสา ล้ำเลิศ
อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ประธานหลักสูตร : ผศ.ดร.ศิริพร นามเทศ ปีการศึกษา : 2567 - บทคัดย่อ :
งานวิจัยเล่มนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการยืดอายุการปักแจกันของเบญจมาศตัดดอกด้วยวิธีการต่าง ๆ หลังการเก็บเกี่ยว ที่มีผลต่ออายุการปักแจกันของดอกเบญจมาศ สาเหตุการสูญเสียคุณภาพของดอกไม้ โดยใช้สารละลายแอสไพริน 300ppm ร่วมกับซูโครส 5% และน้ำที่ผ่านการฉาย Plasma ที่ระยะเวลา 5,10,15,20 นาที ที่อุณหภูมิห้อง พบว่าสารละลายแอสไพริน 300 ppm ร่วมกับ ชูโครส 5% ร่วมกับ น้ำที่ผ่านการฉาย plasma 5 นาที สามารถยืดอายุการปักแจกันของดอกเบญจมาศไว้นานที่สุดคือ 15 วัน ขณะที่ดอกเบญจมาศในน้ำกลั่นมีอายุการปักแจกันเพียง 7 วัน ดอกเบญจมาศที่ปักแจกันในสารละลายแอสไพริน 300 ppm ร่วมกับ ซูโครส 5% มีการเปลี่ยนสีของกลีบดอกน้อย ดอกมีขนาดใหญ่ อัตราการดูดน้ำสูง และน้ำหนักเพิ่มขึ้นมากกว่าดอกเบญจมาศที่ปักแจกันในน้ำกลั่น
- เอกสารอ้างอิง :
กรมส่งเสริมการเกษตร. 2563. เบญจมาศ. แหล่งสืบค้น: http://www.agriinfo.doae.go.th,
15 กันยายน 2566.
นิธิยา รัตนาปนนท์ และดนัย บุญยเกียรติ. 2537. การปฏิบัติภายหลังการเก็บเกี่ยวดอกไม้. โอ เดียนส
โตร์, กรุงเทพฯ.
นิธิยา รัตนาปนนท์ และดนัย บุณยเกียรติ. 2556. การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวดอกไม้. พิมพ์ ครั้งที่ 3.
สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. กรุงเทพฯ. 268 หน้า.
สายชล เกตุษา และเกยูร ธีรเจริญปัญญา. 2530. ผลของแอสไพริน และซูโครสที่มีต่ออายุการปัก
แจกันของดอกกล้วยไม้หวายปอมปาดัวร์. วารสารวิชาการปี ที่ 21 ฉบับที่1. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สายชล เกตุษา. 2531. เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวของดอกไม้. ภาควิชาพืชสวนคณะเกษตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
สายชล เกตุษา และอุบล บรรเริงศรี. 2531. ผลกระทบของแอสไพรินและซูโครสที่มีต่ออายุการปัก
แจกันของดอกกุหลาบ. วรสารเกษตรศาสตร์ (วิทย) 22 : 94-102.
สุภาพร สัมโย และอำนวย อรรถลังรอง. 2563. สถานการณ์การผลิตเบญจมาศ. สถาบันวิจัยพืชสวน
กรมวิชาการเกษตร.
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร. 2565. เบญจมาศตัดดอก. แหล่งข้อมูล:
http://www.agriman.doae.go.th/home/news/ 2565/40mum.pdf. ค้นเมื่อ 15 กันยายน 2566.
สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร. 2552. การปลูกเบญจมาศ เพื่อผลิตเป็นไม้กระถาง. ค้นเมื่อ
15 กันยายน 2566, https://researchex.mju.ac.th/agikl/index.php/knowled ge/48-flower/210-ebyhmas.
เสาวลักษณ์ กิตติธนวัตร. 2563. สถานการณ์และทิศทางไม้ดอกไม้ประดับของประเทศไทยในปี 2563.
สถาบันวิจัยพืชสวน กรมวิชาการเกษตร.
ศุภชาติ ธรรมนิติเวทย. 2562. การสกัดสารสีจากใบพืชสำหรับใช้ในการศึกษาทางสรีรวิทยาของพืช.
เกษตรนเรศวร 16(1): 73-81.
อัจฉราภรณ์ บุญมา. 2556. อิทธิพลของพลาสมาจากก๊าซต่อการดัดแปรคุณสมบัติพื้นผิวของฟิล์มพอลิ
แลคติกแอซิด. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.
Ajioka, R.S. , J. D. Phillips, and J. P. Kushner. (2006) . Biosynthesis of heme in mammals.
Biochimica et Biophysica Acta, 1763(7), 723-736.
Choudhari, R., and B.S. Kulkarni. 2018. Effect of pulsing on improving the vase life of
cut chrysanthemum (Dendranthema grandiflora Tzevelev.) cv. White Double. International Journal of Chemical Studies. 6(1), 1453–1457.
Dingmeng Guo, Hongxia Liu, Lei Zhou, Jinzhuo Xie and Chi He Plasma-activated water
production and its application in agriculture J Sci Food Agric 2021 DOI 10.1002/jsfa.11258.
Hörtensteiner, S. and B. Kräutler. ( 2011) . Chlorophyll breakdown in higher plants.
Biochimica et Biophysica Acta, 1807(8), 977-988.
Koley, T. K., K. Banerjee, A. Maurya, A. Tripathi, and B. Singh. (2018). Bioactive
pigments in vegetables. In B. Singh, S. Singh and T.K. Koley (Eds.), Advances in
Postharvest Technologies of Vegetable Crops (pp. 1-24). Oakville, ON: Apple
Academic Press, Inc.
Stiegler, J. C. , G. E. Bell, and N. O. Maness. (2004) . Comparison of acetone and N,N-
dimethylformamide for pigment extraction in turfgrass. Communications in Soil Science and Plant Analysis, 35(13-14), 1801-1813.
Sun, T., H. Yuan, H. Cao, M. Yazdani, Y. Tadmor, and L. Li. (2018). Carotenoid
metabolism in plants: The role of plastids. Molecular Plant, 11(1), 58-74.
Susila, E., A. Susilowati, and A. Yunus. 2019. The morphological diversity of
Chrysanthemum resulted from gamma ray irradiation. Biodiversitas Journal of Biological Diversity. 20(2): 463-467.
Taiz, L., E. Zeiger, I. M. Møller,and A. Murphy. (2015).Plant Physiology (6th ed.)
Sunderland, MA: Sinauer Asscosiates, Inc.
Willey, N. (2016). Environmental Plant Physiology. NY: Garland Science.
|