- ชื่อเรื่อง : คุณภาพซากและความพึงพอใจของผู้บริโภคที่มีต่อเนื้อโคนมคัดทิ้งที่ขุน ด้วยเศษกะหล่ำปลีหมัก
- title : CARCASS QUALITY AND CONSUMER SATISFACTION WITH CULLED DAIRY COWS FEEDING BY FERMENTED CAULIFLOWER
- ผู้แต่ง : นางสาวบุญยืน กานจะนารี
อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.จารุนันท์ ไชยนาม หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ ประธานหลักสูตร : อาจารย์ณัฐกานต์ พิสุทธิ์พิบูลวงศ์ ปีการศึกษา : 2567 - บทคัดย่อ :
งานวิจัยนี้ศึกษาคุณภาพซาก และความพึงพอใจของผู้บริโภคที่มีต่อเนื้อแม่โคนมคัดทิ้งขุนด้วยเศษ
กะหล่ำปลีหมัก โดยวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design, CRD การทดลองที่ 1 การศึกษาคุณภาพซากโคนมคัดทิ้งสายพันธุ์โฮลสไตน์ฟรีเชียน เพศเมีย น้ำหนักเฉลี่ย 530 – 655 กิโลกรัม เลี้ยงขุนเป็นเวลา 3 เดือน ด้วยอาหาร 2 สูตร คือกลุ่มที่ 1 เลี้ยงด้วยอาหารข้น 1 % ร่วมกับฟางแบบเต็มที่ (Control) และกลุ่มที่เลี้ยงด้วยอาหารข้น 1% เสริมด้วยกะหล่ำปลีหมัก 10% ร่วมกับฟางข้าวแบบเต็มที่ (Ensiled cabbage waste) การทดลองที่ 2 ทดสอบการยอมรับทางประสาทสัมผัสด้วยวิธี 9-point hedonic scale โดยใช้เนื้อตัวอย่าง 3 กลุ่ม คือ กลุ่มเนื้อโคนม (Control) กลุ่ม (Ensiled cabbage waste) และกลุ่มเนื้อวัวทางการค้า (Commercial) ผลการทดลองที่ 1 พบว่าน้ำหนักซากอุ่น น้ำหนักซากเย็น เปอร์เซ็นต์ซากของกลุ่มตัวอย่างทั้งสองไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05) แต่น้ำหนักเนื้อสันนอกของกลุ่ม Ensiled cabbage waste มีน้ำหนักสูงกว่ากลุ่ม Control และผลการทดสอบการยอมรับทางประสาทสัมผัสของผู้บริโภค พบว่าลักษณะปรากฏ กลิ่นรส รสชาติ ลักษณะเนื้อสัมผัส และการยอมรับโดยรวมของกลุ่มตัวอย่างทั้ง 3 กลุ่มไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05) โดยตัวอย่างเนื้อโคนมคัดทิ้งขุน พบว่าไม่มีความแตกต่างทั้งลักษณะปรากฏ กลิ่นรส รสชาติ ลักษณะ สัมผัส และการยอมรับโดยรวม กับกลุ่ม Commercial (P>0.05)
- เอกสารอ้างอิง :
กลุ่มวิจัยเศรษฐกิจปศุสัตว์. 2552. ข้อมูลเศรษฐกิจกรมปศุสัตว์ปศุสัตว์และการถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมปศุสัตว์. กรุงเทพฯ. แหล่งข้อมูล : https://dld.go.th/th/index.php/th/102-know ledge/dld-economic 19 มกราคม 2566
จุฑารัตน์ เศรษฐกุล และ ญาณิน โอภาสพัฒนกิจ. 2548. คุณภาพเนื้อภายใต้ระบบการผลิตและ การตลาดของประเทศไทย. บริษัทสุพีเรียพริ้นติ้งเฮาส์. กรุงเทพฯ
ธนพร บุญมี. 2562. คู่มือการเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี. พิมพ์ครั้งที่ 2. โรงพิมพ์สมศักดิ์การพิมพ์. เชียงใหม่
นันทนา ช่วยชูวงศ์, ชัยณรงค์ คันธพนิต และปรารถนา พฤกษะศรี. 2540. การเปรียบเทียบสมรรถภาพ การขุนปริมาณและคุณภาพผลผลิต และผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของโคเนื้อ 5 สาย พันธุ์ที่มีอยู่ในประเทศไทย. ครั้งที่ 35. การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ (สาขาสัตวแพทยศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
มัทนา โอสถหงษ์. 2551. คู่มือการตัดแต่งเนื้อโคแบบโพนยางคำ. อมรินทร์. กรุงเทพฯ
เมืองทอง ทวนทวี. 2525. สวนผัก. กลุ่มหนังสือเกษตร.กรุงเทพฯ
บุญชัย เบญจรงคกุล. 2555. โคนม. แหล่งที่มา:https://www.rakbankerd.com/agriculture /page. php?id =2818&s=tblanimal 30 มีนาคม 2567
วัชราภรณ สุขใจ. 2555. คุณภาพซาก คุณภาพเนื้อ และผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของโคนมคัดทิ้ง. ปริญญาวิทยาสาสตร์มหาบัณฑิต สาขาสัตวศาสตร์บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วิทยา สุมามาลย์. 2565. การจัดการอาหารโคเนื้อเพื่อผลิตเนื้อคุณภาพสูง. สำนักพัฒนาอาหารสัตว์.แหล่งที่มา: https://nutrition.dld.go.th/nutrition/images/pdf/cattle4.pdf 20 มกราคม 2566
วิโรจน์ ภัทรจินดา. 2546. โคนม. มหาวิทยาลัยขอนแก่น ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
ศศิกานต์ สิริมา. 2013. คำจำกัดความและจุดมุ่งหมายของการทดสอบทางประสาทสัมผัส. แหล่งที่มา: https://www.gotoknow.org/posts/554706 20 มกราคม 2566
สหกรณ์โคนมวังน้ำเย็น. 2559. ประวัติสหกรณ์โคนมวังน้ำเย็น. แหล่งที่มา: https://www.wangnam yendairy.com/ 18 พฤจิกายน 2566
สดใส ยิ่งสง่า, ธวัชชัย สุวรรณกำจาย, กรองแก้ว บริสุทธิ์สวัสดิ์. 2550.เปรียบเทียบผลผลิตน้ำนมและผลตอบแทนของการเลี้ยงโคนมทีเอฟ โคนมทีเอ็มแซด และโคฟรีบราห์. กรมปศุสัตว์.แหล่งที่มา: https://tarr.arda.or.th/preview/item/taW0kh2sN77dyHxo5B gRO?isAI= true 18 พฤจิกายน 2566
สัญชัย จตุรสิทธา. 2547. การจัดการเนื้อสัตว์. พิมพ์ครั้งที่ 3. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่
สัญชัย จตุรสิทธา. 2550. การจัดการเนื้อสัตว์. พิมพ์ครั้งที่ 4. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่.
สัญชัย จตุรสิทธา. 2562. คู่มือการเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้ และเทคโนโลยี. พิมพ์ครั้งที่ 2. โรงพิมพ์สมศักดิ์การพิมพ์.เชียงใหม่
สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ. 2555. มาตรฐานสินค้าเกษตร มกษ. 4004-2555. สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ. กรุงเทพฯ
สุพัตรา ชุมผาง. 2553. การใช้เศษผักเป็นอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง. ปริญญาวิทยาสาสตร์มหาบัณฑิต สาขาสัตวศาสตร์บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยแม่โจ้
สุริยะ สะวานนท์.2556.การผลิตโคเนื้ออินทรีย์. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ
อภิสิทธิ์ อิสริยานุกุล, ธวัช ลวเปารยะ, อัญชนีย์ อุทัยพัฒนาชีพ, นภาภรณ์ พรหมชนะ และจำเนียร บุญมา. 2529. คู่มือการปลูกผักสวนครัวเพื่อเศรษฐกิจและโภชนาการ. ห้างหุ้นส่วนจำกัดพันนี่พับบลิชชิ่ง. กรุงเทพฯ
อัฑฒ์ ภูแจ้ง, ญาณิน โอภาสพัฒนกิจ และ จุฑารัตน์ เศรษฐกุล. 2553. สมรรถภาพการผลิต คุณภาพซาก และคุณภาพเนื้อของแม่โคนมขุนที่ใช้ผลพลอยได้จากสับปะรดหรือข้าวโพดหมักเป็นแหล่ง อาหารหยาบ.วารสารเกษตรพระจอมเกล้า. 28(2) : 43-51น.
อับดุลเลาะ วารีศรี. มปป. การเชือดสัตว์ตามบัญญัติศาสนาอิสลาม. กรมปศุสัตว์.แหล่งที่มา: https:// region5.dld.go.th/webnew/images/stories/rubrong55/halarn/03.pdf 8 มกราคม 2567
Chainam, J., Opatpatanakit, Y., Kiatbenjakul, P., Lin, RS., & Kiratikarnkul, S. 2019. Carcass characteristics, meat quality, and eating quality of culled dairy cows. Science & Technology Asia. 24(3): 47-58.
Lawless,T.H. and Heyman,H. 1998. Sensory Evaluation of food–Principles and Practices. International Thomson Publishing, New York.
Stone, H.and Sidel. J.L..1993. Sensory Evaluation Practices. San Diego: Academic Press
Wadhwa, M., S. Kaushal and MPS Bakshi. 2006. Nutritive evaluation of vegetable wastes as complete feed for goat bucks. Small Rum.64(3): 279-284
|