- ชื่อเรื่อง : ผลการเสริมขมิ้นชัน บอระเพ็ด และฟ้าทะลายโจรในอาหารต่อสมรรถภาพการผลิตของไก่ไข่
- title : EFFECTS OF SUPPLEMENTATION WITH Curcuma Longa L., Tinospora Crispa AND Andrographis Paniculata IN DIET ON PRODUCTIVE PERFORMANCE OF LAYING HENS
- ผู้แต่ง : นายฉัตรมงคล เอี่ยมสง่า
อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ราชาวดี ยอดเศรณี หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ ประธานหลักสูตร : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิริพร นามเทศ ปีการศึกษา : 2567 - บทคัดย่อ :
การศึกษาผลการเสริมขมิ้นชัน บอระเพ็ด และฟ้าทะลายโจรในอาหารต่อสมรรถภาพการผลิตของไก่ไข่ โดยการวางแผนการทดลองแบบสุ่มตลอด (Completely Randomized Design; CRD) ทาการเลี้ยงไก่ไข่ลูกผสมพันธุ์ Babcock อายุ 56 สัปดาห์ จานวน 160 ตัว แบ่งเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้า ซ้าละ 10 ตัว ในแต่ละกลุ่มจะได้รับอาหารเสริมต่างกัน ดังนี้ กลุ่มที่ 1 อาหารสาเร็จรูป(กลุ่มควบคุม) กลุ่มที่ 2 อาหารเสริมขมิ้นชัน 0.10% บอระเพ็ด 0.20% และฟ้าทะลายโจร 0.20% กลุ่มที่ 3 อาหารเสริม ขมิ้นชัน 0.25% บอระเพ็ด 0.20% และฟ้าทะลายโจร 0.20% กลุ่มที่ 4 อาหารเสริมขมิ้นชัน 0.50% บอระเพ็ด 0.20% และฟ้าทะลายโจร 0.20% เลี้ยงไก่ไข่เป็นเวลา 63 วัน โดยเก็บข้อมูลเป็น 3 ช่วง ช่วงละ 21 วัน ทาการบันทึก น้าหนักไข่ ปริมาณอาหารที่กิน จานวนไก่ตาย จานวนไข่ และเปอร์เซ็นต์ไข่ พบว่า อัตราการไข่ น้าหนักไข่ มวลไข่ ปริมาณอาหารที่กิน ประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหารเป็นไข่ และอัตราการรอดชีวิต ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P>0.05) แต่พบแนวโน้มว่าไก่ไข่กลุ่มที่ 3 ที่ได้รับอาหารเสริมขมิ้นชัน 0.25 บอระเพ็ด 0.20 และฟ้าทะลายโจร 0.20% มีค่ามวลไข่ (P=0.09) และปริมาณอาหารที่กิน (P=0.06) มากกว่ากลุ่มควบคุม
- เอกสารอ้างอิง :
กฤษฎา ตาธุวัน. 2563. ผลของกำรเสริมบอระเพ็ดเพื่อเพิ่มประสิทธิภำพกำรเจริญเติบโต
ของไก่เนื้อ. สัมมนานักศึกษาปริญญาตรี ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
เกตุแก้ว แสงสุวรรณ. 2558. ผลกำรเสริมบอระเพ็ดต่อสมรรถภำพกำรผลิตของไก่กระทง.
สัมมนานักศึกษาปริญญาตรี สาขาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช.
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2567. ข้อมูลพืชสมุนไพร. แหล่งที่มา:
https://pharmacy.su.ac.th/herbmed/herb/text/herb_detail.php?herbID=359,
4 เมษายน 2567
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 2566. ฐำนข้อมูลเครื่องยำสมุนไพร. แหล่งที่มา:
https://apps.phar.ubu.ac.th/thaicrudedrug/main.php,
4 เมษายน 2566
จินตนา อินทรมงคล. 2553. กำรเลี้ยงไก่ไข่อินทรีย์แบบปล่อย. กรมปศุสัตว์ ศูนย์ปศุสัตว์อินทรีย์ กองบารุงพันธุ์สัตว์กรมปศุสัตว์.
เจษฎา รัตนวุฒิ, บดีคาสีเขียว, โอภาส พิมพา, อุมาพร แพทย์ศาสตร์ และอารีรัตน์ ทศดี. 2564. ผลของการเสริมปาปริก้าและขมิ้นชันในอาหารต่อสมรรถภาพการผลิตและสีไข่แดงของไก่ไข่. วำรสำรแก่นเกษตร 49(2): 187-191.
ชัชวาล ช่างทา. 2558. คุณประโยชน์และฤทธิ์ทางชีวภาพที่หลากหลายของสมุนไพรขมิ้นชัน.
วำรสำรวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี 1(2): 94-109.
ชินวัตร รุยนัต. 2549. กำรใช้ขมิ้นชันในอำหำรไก่ไข่. สัมมนานักศึกษาปริญญาตรี สาขาสัตวศาสตร์
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช.
ณัฐพงษ์ พรหมเวช. 2560. ผลของกำรเสริมบอระเพ็ดต่อประสิทธิภำพกำรผลิตในไก่เนื้อสำยพันธุ์
ทำงกำรค้ำ. สัมมนานักศึกษาปริญญาตรี สาขาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช.
นัฐวุธ มากศรี, นันทนา ช่วยชูวงศ์, ราชศักดิ์ ช่วยชูวงศ์และ เกียรติศักดิ์ สร้อยสุวรรณ. 2560.
ผลกำรเสริมสมุนไพรฟ้ำทะลำยโจรและขมิ้นชันในอำหำรต่อองค์ประกอบซำกและ
คุณภำพเนื้อของไก่ไข่ ปลดระวำง. สัมมนานักศึกษาปริญญาตรี สาขาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช.
นิรนาม. 2567. แหล่งรวบรวมข้อมูลสมุนไพร. แหล่งที่มา: https://www.disthai.com/,
14 เมษายน 2567.
นุชนาถ รังคดิลก, นันทนิจ ผลพนา และจุฑามาศ สัตยวิวัฒน์. 2558. ฟ้ำทะลำยโจร
(Andrographis paniculata) – ข้อมูลวิชำกำรที่น่ำรู้. ห้องปฏิบัติการวิจัยเภสัชวิทยา สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ (CRI), สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ (CGI) และศูนย์ความเป็นเลิศด้าน
อนามัยสิ่งแวดล้อมและพิษวิทยา แหล่งที่มา:
https://eht.sc.mahidol.ac.th/article/1818, 14 เมษายน 2567.
บัวเรียม มณีวรรณ์, กรรณิกา ฮามประคร, ทองเลียน บัวจูมและมงคล ยะไชย. 2562.
การใช้สาหร่ายสไปรูลิน่าร่วมกับสารสกัดหยาบจากบอระเพ็ดในอาหารไก่ไข่อินทรีย์ที่มีข้าวโพดระดับต่า. วำรสำรแก่นเกษตร 47(2): 606-610.
รัชดาวรรณ พูนพิพัฒน์, สุภาพร อิสริโยดม, สวัสดิ์ ธรรมบุตรและพัฒนา สุขประเสริฐ. 2542.
ผลของการเสริมสมุนไพรฟ้าทะลายโจรในอาหารไก่ไข่, น.102-107. ใน รำยงำนกำรประชุมทำงวิชำกำรของมหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ ครั้งที่ 37: สำขำสัตว์ สาขาสัตวแพทยศาสตร์. กรุงเทพฯ.
สาโรช ค้าเจริญ และเยาวมาลย์ ค้าเจริญ. 2549. การใช้สมุนไพรเสริมอาหารทดแทนปฏิชีวนะ
สารเพื่อเร่งการเจริญเติบโตและป้องกันโรคสัตว์ปีกและสุกร. วำรสำรแก่นเกษตร
1(1): 34-46
สถาบันวิจัยพืชสวน. 2566. เอกสำรทำงวิชำกำร ขมิ้นชัน Curcuma Longa L.
กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. แหล่งที่มา:
https://www.doa.go.th/hort/wp-content/uploads/2023/02/.pdf,
14 เมษายน 2567.
สุประวัฒน์ แสนทวีสุข. 2560. ผลกำรใช้ขมิ้นชันผงอำหำรไก่ไข่ต่อผลผลิตไข่และน้ำหนักไข่.
สัมมนานักศึกษาปริญญาตรี ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
สุภาวดี แหยมคง, กฤติมา สุวรรณรัตน์, ปลิตา ทิพมณฑา, สุทธิรัตน์ รูปคา, พัทธนันท์ โกธรรม,
ประภาศิริ ใจผ่อง, ต๋วน เหงียน ง๊อก, อุษณีย์ภรณ์ สร้อยเพ็ชร์ และประเดิม เมืองมูล. 2564. ผลของการเสริมตารับสมุนไพรในอาหารต่อสมรรถภาพการผลิตไข่ของไก่ดาเซิงหวาย. วำรสำรแก่นเกษตร 1: 409-411
สานักงานเกษตรและสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์. 2567. ขมิ้น สรรพคุณและประโยชน์
ของขมิ้นชัน. แหล่งที่มา: https://www.opsmoac.go.th/surin-local_wisdom-preview-422891791843, 4 เมษายน 2567
สานักพัฒนาอาหารสัตว์. 2567. สมุนไพร. แหล่งที่มา:
https://nutrition.dld.go.th/nutrition/images/pdf/GAP/herb10.pdf,
26 เมษายน 2567
อรประพันธ์ ส่งเสริม, ขุนพล พงษ์มณี และอรรถวุฒิ พลายบุญเสริม. 2551. กำรใช้สำรสกัดหยำบ
จำกขมิ้นชันในไก่ไข่. สมุนไพรเพื่อคุณภาพชีวิต (88 โครงการ ) สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม.
อรทัย จินตสถาพร. 2557. สมุนไพรไทยเพิ่มประสิทธิภำพกำรผลิตสัตว์ปีก : ยำสมุนไพร.
ภาควิชาสัตวบาลคณะเกษตรกาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน นครปฐม.
Dada Khalandar, S., Naga Adithya, T., Jilani Basha, S., Koshma, M.,
Venkata Subbareddy, U. and V.Jaya Sankar Reddy. 2018. A Current Review on Curcuma longa linn. Plant. International Journal of Pharmaceutical, Chemical and Biological Sciences. 8(1): 68-73.
Higashino H, Suzuki A, Tanaka Y, and K. Pootakham. 1992. effects of Siamese Tinospora crispa extracts on the carrageenin-induced foot pad edema in rats (the 1st report). Nippon Yakurigaku Zasshi 100(4):339-44.
Kanagaraju, P., A.V. Omprakash and S. Rathnapraba. 2016. Effect of Turmeric
(Curcuma longga Linn) rhizome powder supplementation on the production performance of Nandanam chicken 4 laying hens. The Indian Veterinary Journal. 93(07): 36-38.
Leela N.K. , Tava A. , Shafi P.M. , John H.P. and B. Chempakam. 2002.
Chemical composition of essential oils turmeric (Curcuma longa L.).
Acta Pharmaceutica. 52: 137-41.
|