- ชื่อเรื่อง : อิทธิพลของพลาสมาเย็นในการจาลองระบบปลูกแบบไม่ใช้ดินต่อการเจริญเติบโตและปริมาณสารสาคัญในเรดโอ๊ค
- title : Influence of cold plasma in a simulated soilless growing system on growth and vital substance content in red oak
- ผู้แต่ง : นางสาวจีรนันท์ โม่งปราณีต
อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ประธานหลักสูตร : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิริพร นามเทศ ปีการศึกษา : 2567 - บทคัดย่อ :
งานวิจัยเล่นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของอิทธิพลของพลาสมาเย็นในการจาลองระบบปลูกแบบไม่ใช้ดินต่อการเจริญเติบโต และปริมาณสารสาคัญในเรดโอ๊ค ด้วยวิธีการฉายพลาสมาลงน้าปุ๋ย AB ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของเรดโอ๊ค สาเหตุของการเจริญเติบโตโดยใช้ปุ๋ย AB 50 ml ร่วมกับการใช้ plasma ที่ระยะเวลา 5,10,15,20,25 นาที ที่อุณหภูมิห้อง พบว่าปุ๋ย AB ที่ผ่านการฉาย plasma 20 นาที สามารถทาให้เรดโอ๊คมีการเจริญเติบโตมากที่สุด ขณะที่เรดโอ๊คฉาย plasma 5,10,15,25 นาที มีการเปลี่ยนแปลงและการเจริญเติบโตขึ้นตามลาดับ
- เอกสารอ้างอิง :
การปลูกพืชไม่ใช้ดิน. กรุงเทพฯ:ฉบับปรุงแต่ครั้งที่ 3 พิมพ์ดีการพิมพ์. ไทยเกษตร. 2555. การปลูกพืช
ไม่ใช้ดิน. สานักพิมพ์สุวีริยาสาส์น, กรุงเทพฯ
ดิเรก ทองอร่าม 2550. การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน (Soilless Culture). [ออนไลน์] แหล่งที่มา
http://www.science.kmitl.ac.th/sciblog/?p=433 (26.พ.ค.2560) ดิเรก ทองอร่าม. 2550. ธัญญานุภาพ อานันทนะ และคณะ รายงานฉบับสมบูรณ์แผนงานการพัฒนาพลาสมาเทคโนโลยีเพื่อ ความปลอดภัยและเพิ่มมูลค่าสาหรับคะน้าและมะม่วง สานักงานพัฒนาวิจัยการเกษตร 2560
ผักกาดเขียวปลี. [ออนไลน์] แหล่งที่มา:http://www.thaikasetsart.com (29 พ.ค. 2560) นพดล
เรียบเลิศหิรัญ. 2550.
วรรณภา เสนาดี, อทิพัฒน์ บุญเพิ่มราศี, และรุจินี สันติกุล. 2550. พริกพืชผักเศรษฐกิจชุบชีวิต
ชาวสวนไทย. วารสารเคหการเกษตร. 31(12): 73-80
วิลาวัณย์ ใคร่ครวญ. 2558. วิจัยและพัฒนาพริก. รายงานโครงการวิจัย กรมวิชาการเกษตร.
ศุภชัย โพธิ์ล้อม, สุธิรา มณีฉาย และรุ่งฤดี ทิวทอง. (2560). พฤกษเคมีฤทธ์ิต้านจุลชีพ และต้านอนุมูล
อิสระของสาร สกัดจากกัลปพฤกษ์. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการ “มหาวิทยาลัย
มหาสารคามวิจัย ครั้งที่ 12” (น. 421-431). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ศุภชาติ ธรรมนิติเวทย์, พัชรียา บุญกอแก้ว, พูนพิภพ เกษมทรัพย์, และ ประศาสตร์ เกื้อมณี. (2553).
การศึกษาประสิทธิภาพการสังเคราะห์แสงและปริมาณรงควัตถุของอโกลนีมาใบหลากสี. การ
ประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ครั้งที่ 7 ธัญญานุภาพ อานันทนะ และคณะ รายงานฉบับสมบูรณ์แผนงานการพัฒนาพลาสมาเทคโนโลยีเพื่อ ความปลอดภัยและเพิ่มมูลค่าสาหรับคะน้าและมะม่วง สานักงานพัฒนาวิจัยการเกษตร 2560
สุชาดา พันธุ์สถิตย์วงศ์ “พารามิเตอร์ที่เหมาะสมในการสลายยาฆ่าแมลงด้วยเทคนิคน้าที่กระตุ้นด้วย พลาสมา” วิทยานิพนธ์ปริญญาโทวิศวอุตสาหการ 2561
|