- ชื่อเรื่อง : ผลของการเสริมผงสาระแหน่ในอาหารไก่ไข่ต่อคุณภาพไข่
- title : EFFECTS OF MINT POWDER SUPPLEMENTATION IN LAYER DIET ON EGG QUALITY
- ผู้แต่ง : นายกนต์ธร สุขสบาย
อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กรรณิกา อัมพุช หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ ประธานหลักสูตร : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิริพร นามเทศ ปีการศึกษา : 2568 - บทคัดย่อ :
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการเสริมผงสะระแหน่ในอาหารไก่ไข่ต่อคุณภาพไข่ทำการทดลองโดยใช้ไก่ลูกผสมทางการค้าสายพันธุ์เปปครอป โดยทดลองในแม่ไก่ไข่ที่อายุ 95 สัปดาห์ จำนวน 120 ตัว วางแผนการทดลองแบบสุ่มตลอด แบ่งไก่ไข่ออกเป็น 3 กลุ่มทดลอง กลุ่มละ 4 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว ไกไข่ทั้ง 3 กลุ่ม ได้รับอาหารตลอดการทดลอง ดังนี้กลุ่มที่ 1 ได้รับอาหารปกติ กลุ่มที่ 2 ได้รับอาหารปกติเสริมผงสะระแหน่ 0.5 เปอร์เซ็นต์ กลุ่มที่ 3 ได้รับอาหารปกติเสริมผงสะระแหน่ 1 เปอร์เซ็นต์ ผลการทดลองพบว่าคุณภาพไข่ค่า haugh unit เปอร์เซ็นต์เปลือกไข่ เปอร์เซ็นต์ไข่แดง เปอร์เซ็นต์ไข่ขาว ความหนาเปลือกไข่ ความสูงไข่ขาวเฉลี่ย เปอร์เซ็นต์สีไข่แดง ตลอดการทดลอง ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
(P>0.05) แต่ค่าความถ่วงจำเพาะ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(P<0.05) โดยกลุ่มที่ได้รับผงสะระแหน่ 0.5 เปอร์เซ็นต์ มีค่าความถ่วงจำเพาะสูงกว่ากลุ่มอื่นๆ และกลุ่มที่ได้รับ 1 เปอร์เซ็นต์ มีค่าความถ่วงจำเพาะต่ำที่สุด ดังนั้นสามารถเสริมผงสะระเเหน่ในอาหารไก่ไข่ได้โดยไม่มีผลเสียต่อคุณภาพไข่และการเสริมในระดับ 0.5 เปอร์เซ็นต์ สามารถปรับปรุงค่าความถ่วงจำเพาะได้ดีที่สุด ผลการทดลององค์ประกอบทางเคมีจากการทดลองการเสริมผงสะระแหน่ในอาหารไก่ไข่ที่ระดับ 0.5 และ 1 เปอร์เซ็นต์ พบว่าค่า เยื่อใย ตลอดการทดลอง ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) แต่ค่าความชื้น มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(P<0.05) โดยกลุ่มที่ได้รับอาหารปกติมีค่าความชื้นสูงกว่ากลุ่มอื่นๆ และ กลุ่มที่ได้รับผงสะระแหน่ 1 เปอร์เซ็นต์ มีค่าความชื้นต่ำที่สุด สำหรับค่าไขมันพบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) โดยกลุ่มที่ได้รับการเสริมผงสะระแหน่ 1 เปอร์เซ็นต์ มีค่าไขมันสูงกว่ากลุ่มอื่นๆ และ กลุ่มที่ได้รับการเสริมที่ 0.5 เปอร์เซ็นต์ มีค่าไขมันต่ำที่สุด ค่าเถ้า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(P<0.05) โดยกลุ่มที่ได้รับ 0.5 เปอร์เซนต์ มีค่าเถ้าสูงกว่ากลุ่มอื่นๆ และ กลุ่มที่ได้รับอาหารปกติมีค่าเถ้าต่ำที่สุด ค่าโปรตีน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) โดยกลุ่มที่ได้รับการเสริมผงสะระแหน่ 0.5 เปอร์เซ็นต์ มีค่าโปรตีนสูงกว่ากลุ่มอื่นๆ และ กลุ่มที่ได้รับการเสริมที่ 1 เปอร์เซ็นต์ มีค่าโปรตีนต่ำที่สุด
- เอกสารอ้างอิง :
กฤติยา ไชยนอก.สะระแหน่ฝรั่ง.บทความวิชาการ.จุลสารข้อมูลสมุนไพรปีที่27.ฉบับที่1.ตุลาคม.2552.
หน้า12-20
กานดา ล้อแก้วมณี. 2560. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพไข่. ข่าวสารเกษตร. 2 (6): 1-8.
เกียรติศักดิ์ สร้อยสุวรรณ. 2545. โภชนะศาสตร์และการให้อาหารสัตว์ปีก. คณะวิชาสัตวศาสตร์สถาบัน
เทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตนครศรีธรรมราช, นครศรีธรรมราช.
ไชยา อุ้ยสูงเนิน. 2532. การเลี้ยงไก่ไข่, พิมพ์ครั้งที่ 4. สมาคมส่งเสริมการเลี้ยงไก่ไข่,กรุงเทพฯ.
ณัฐนนท์ อยู่สถิตย์ และชญาดา กลิ่นจันทร์. 2559. การวิเคราะห์สารประกอบฟลาโวนอยด์ในใบสะระแหน่
ใบทับทิมและใบว่านแร้งคอดาเพื่อแปรรูปเป็นชาสมุนไพร. น. 323-338. ใน: ประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร ครั้งที่ 3 วันที่ 22 ธันวาคม 2559. มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. กำแพงเพชร.
นิรนาม. ม.ป.ป. ความต้องการโภชนะของสัตว์. แหล่งที่มา:
http://202.29.239.235/catnews/attachfile/xL02072018.pdf? 25 มีนาคม 2564
นันทวัน บุณยะประภัศรม อรนุช โชคชัยเจริญพร,บรรณาธิการ.สมุนไพรไม้พื้นบ้าน เล่ม 4 กรุงเทพฯ:
บริษัทประชาชน.2543: 740 หน้า
พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์ และ นิธิยา รัตนาปนนท์. ม.ป.ป. Haugh/ฮอก แหล่งที่มา:
http://www.foodnetworksolution.com. 3 มกราคม 2564
ภัททิรา ประสาทแก้ว. 2561. ผลของการเสริมใบพลูคาวต่อภูมิต้านทานโรค การให้ผลผลิต และ คุณภาพ
ไข่ ของไก่ไข่, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
ภุชงค์ วีรดิษฐกิจ และ ไพโชค ปัญจะ. 2558. อิทธิพลของการเสริมใบมะรุมผงในอาหารไก่ไข่.
วรสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 23(2):294 - 303.
วชิระ จิระรัตนรังษี, ม.ป.ป. ไข่ไก่ของดีคุณประโยชน์มาก. คณะอุตสาหกรรมเกษตร
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, แหล่งที่มา: http://ficifrpd.ku.ac.th/fic/index,php/2016-04
26-06-50-20/food-news-main-menu-3/fic-food-news-menu/700-food-3-24-07-
2019. 20 กุมพาพันธ์ 2568
สะระแหน่ ผักต่างแดนที่โอนสัญชาติและเปลี่ยนชื่อเป็นไทย.คอลัมน์ต้นไม้ใบหญ้า.นิตยสารหมอชาวบ้านเล่ม
ที่218.มิถุนายน.2540
สุชาติ สงวนพันธ์. 2547. การเลี้ยงดูไก่ไข่, เอกสารวิชาการ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ
สุวรรณ เกษตรสุวรรณ. 2522. ไข่และเนื้อไก่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ.
สมชาย ศรีพูล. 2549. หลักการเลี้ยงสัตว์. สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, นครสวรรค์.
สำนักงานโภชนาการ. 2548 การบริโภคไข่. กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. แหล่งที่มา:
ww.nutrition.anamai.moph.go.th. 22 เมษายน 2563
สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ 2553. มาตรฐานสินค้าเกษตรไข่ไก่. กระทรวง
เกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ
อาวุธ ตันโช. 2538. การผลิตสัตว์ปีก. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. กรุงเทพฯ.
ฤทธิ์ต้านการหดเกร็งของน้ำมันสะระแหน่ฝรั่งต่อกล้ามเนื้อเรียบของหลอดลมในหนูแรท.ข่าวความเคลื่อนไหว
สมุนไพร.สำนักงานข้อมูลสมุนไพรคณะเภสัชศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล.
Abdel-Wareth, A.A.A. and Lohakare, J.D. 2020. "Productive performance, egg quality, nutrients
digestibility, and physiological response of bovans brown hens fed various dietary inclusion levels of peppermint oil". Animal Feed Science and Technology. 267: 1-8.
Abou-Elezz, F.M.K., L. Sarmiento-Franco, R. Santos-Ricalde. and F. Solorio-Sanchez.
2011. Nutritional effects of dietary inclusion of Leucaena leucocephala and Moringa oleifera leaf meal on Rhode Island Red hens' performance. Cub J.Agri
Sci. 45: 163-169.
Akbari, M., Torki, M. and Kaviani, K. 2016. "Single and combined effects of peppermint and
thyme essential oils on productive performance, egg quality traits, and blood parameters of laying hens reared under cold stress condition (6.8+3 °C)". International Journal of Biometeorology. 60: 447-454.
Al-Kassie, G.A.M. 2010. "The role of peppermint (Mentha piperita) on performance in broiler
diets". Agriculture and Biology Journal of North America. 1 (5): 1009-1013.
Aly, M. A., R. AbdEtrasoul, N. Boulos, M. Khalifa, and A.A. Abdelwahab. 2023. Effect of
dietary peppermint leaves powder (Mentha piperita L.) and/or L-menthol crystal supplementation on nutrients digestibility,performance, digestive enzymes, thyroid hormone, immunity, antioxidant indices and microbial population of growing quail. Egyptian Poultry Science Journal. 43(1): 87-107.
Dorman, H.J.D., Kosar, M., Kahlos, K., Holm, Y. and Hiltunen, R. 2003. "Antioxidant properties
and composition of aqueous extracts from Mentha species, hybrids, varieties, and
cultivars". Agricultural and Food Chemistry. 51: 4563-4569.
Farhad, A. and F. Rahimi. 2011. Factors affecting quality and quantity of egg production in
laying hens: A review. World App. Sci. J. 12:372-384.
Grigoleit, H.G. and Grigoleit, P. 2005. "Pharmacology and preclinical pharmacokinetics of
peppermint oil".' Phytomedicine. 12: 612-616.
Kakengi, A.M.V., J.T. Kaijage, S.V. Sarwatt, S.K. Mutayoba, M.N. Shem. and T. Fujihara.
2007. Effect of Moringa oleifera leaf meal as a substitute for sunflower seed meal on performance of laying hens in Tanzania. Livestock Res. Rur. Develop. 19: 363-367.
Khempaka, S., Pudpila, U. and Molee, W. 2013. "Effect of dried peppermint
(Mentha cordifolia) on growth performance, nutrient digestibility, carcass traits, antioxidant properties, and ammonia production in broilers". Poultry Science Association. 22: 904-912.
Mucha, W., and D. Witkowska. 2021. The applicability of essential oils in different stages
of production of animal-based foods. Molecules, 26(13): 3798.
Ocak, N., Erener, G., Burak, F.A., Sungu, M., Altop, A. and Ozmen, A. 2008. "Performance of
broilers fed diets supplemented with dry peppermint (Mentha piperita L.) or thyme (Thymusvulgaris L.) leaves as growth promoter source". Journal of Animal Science.
53 (4): 169-175.
Prihambodo, T. R., M.M. Sholikin, N. Qomariyah, A. Jayanegara, I. Batubara, D.B. Utomo, and
N. Nahrowi. 2021.Effects of dietary flavonoids on performance, blood constituents, carcass composition and small intestinal morphology of broilers: a meta-analysis. Animal bioscience. 34(3): 434-442.
Rosenbloom, Md, E. Zilberman. and G. Garyahu. 1998. New monochromatic light
source for laying hen. Poult. Sci. 77:1695-1698
Tanticharakunsiri, W., S. Mangmool, K. Wongsariya, and D. Ochaikul. 2021. Characteristics
and upregulation of antioxidant enzymes of kitchen mint and oolong tea kombucha beverages. Journal of Food Biochemistry. 45(1): e13574..
Torki, M., Mohebbifar, A. and Mohammadi, H. 2021. "Effects of supplementing hen diet with
Lavandula angustifoliaand/or Mentha spicata essential oils on production performance, egg quality and blood variables of laying hens". Veterinary Medicine and Science. 7:184-193.
Williams, P. and Losa, R. 2001 "The use of essential oils and their compounds in poultry
nutrition". World's Poultry Science. 17: 14-15.
|