งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพทางกายภาพของหญ้าเนเปียร์หมักร่วมกับเศษผักสดและฝักข้าวโพดหวานในอัตราส่วนที่แตกต่างกัน วางแผนการทดลองแบบสุ่มตลอด โดยแบ่งเป็น 3 กลุ่มทดลอง กลุ่มทดลองที่ 1 อัตราส่วนของหญ้าเนเปียร์ต่อเศษผักสดและฝักข้าวโพดหวาน เท่ากับ 30:20:30 ต่อน้ำหนักพืชสด กลุ่มทดลองที่ 2 อัตราส่วนหญ้าเนเปียร์ต่อเศษผักสดและฝักข้าวโพดหวาน เท่ากับ 20:20:40 ต่อน้ำหนักพืชสด และกลุ่มทดลองที่ 3 อัตราส่วนหญ้าเนเปียร์ต่อเศษผักสดและฝักข้าวโพดหวาน เท่ากับ 20:40:20 ต่อน้ำหนักพืชสด ทั้ง 3 กลุ่มมีการเสริมด้วยกากน้ำตาลร้อยละ 10 ทำการทดลองจำนวนกลุ่มละ 3 ซ้ำ แต่ละซ้ำใช้พืชหมักจำนวน 9 ถุง รวมทั้งหมด 27 ถุง ใช้ระยะเวลาในการหมักทั้งหมด 21 วัน และเก็บข้อมูลลักษณะทางกายภาพของพืชหมัก คือ สี กลิ่น เนื้อสัมผัส และค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) ของพืชหมักทั้ง 3 กลุ่มทดลอง มาเปรียบเทียบกัน โดยนำข้อมูลมาเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยทางสถิติแบบหาค่าความแปรปรวนทางเดียว (One way Analysis of Variance : One way ANOVA) และวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างกลุ่มทดลองโดยใช้วิธี Duncan, s New Multiple Range Test ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งผลการทดลองพบว่า เนื้อสัมผัส กลิ่น สี ของทั้ง 3 กลุ่มทดลอง ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ (p>0.05) ส่วนค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ (p≤0.05) และผลคะแนนสามารถระบุคุณภาพของพืชหมักทั้ง 3 กลุ่มทดลอง คือ กลุ่มทดลองที่ 1 และ 2 จัดว่าเป็นพืชหมักที่มีคุณภาพระดับดี ส่วนกลุ่มทดลองที่ 3 จัดว่าเป็นพืชหมักที่มีคุณภาพระดับดีมาก เหมาะสำหรับการทำพืชหมักเพื่อใช้เป็นอาหารสัตว์มากที่สุด ซึ่งพืชหมักกลุ่มที่ 3 มีลักษณะทางกายภาพ คือ เนื้อสัมผัสไม่เละ ไม่จับกันเป็นก้อน ไม่มียีสต์หรือเชื้อราเจือปน กลิ่นของพืชหมักคล้ายผลไม้ดอง สีของพืชหมักมีสีเหลืองอมเขียว และค่าความเป็นกรด-ด่าง เท่ากับ 4.69 ซึ่งมีความเป็นกรด กรรณิกา เร่งศิริกุล, กันย์ กังวานสายชล, ประภา ศรีพิจิตต์, กานดา นาคมณี และ สายัณห์ ทัดศรี. 2556. ผลของความสูงในการตัดต่อผลผลิตและองค์ประกอบทางเคมีของหญ้าเนเปียร์ที่ใช้ เป็นอาหารสัตว์ และพลังงานในประเทศไทย. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 44(1): 101-110. กรรณิกา อัมพุช และ กฤตเมธ ตะนัยศรี. 2566. การใช้ประโยชน์จากหญ้าเนเปียร์และเศษผักสด ในรูปน้ำหมักชีวภาพ : ปริมาณแบคทีเรียทั้งหมดและค่าความเป็นกรดเป็นด่าง. วารสาร เกษตรและอาหาร มรวอ. 2(1): 36-42. กรมปศุสัตว์. 2547. มาตรฐานพืชอาหารสัตว์หมักของกองอาหารสัตว์. กระทรวงการเกษตรและ สหกรณ์, กรุงเทพฯ. กรมปศุสัตว์. 2544. หญ้าหมัก. กระทรวงการเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. กรมวิชาการเกษตร. 2543. หลักและวิธีการผลิตผักอนามัย. โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่ง ประเทศไทย จำกัด, กรุงเทพฯ. กรมส่งเสริมการเกษตร. 2558. ผักสามัญประจำบ้าน. โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่ง ประเทศ ไทย จำกัด, กรุงเทพฯ. กันยารัตน์ ไชยแสน. 2546. การใช้ข้าวโพดหมักหรือหญ้าเนเปียร์หมักเป็นแหล่งอาหารหยาบใน อาหารผสมสำเร็จรูปสำหรับแพะ. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์. กานดา นาคมณี, ทิพา บุญยะวิโรจ, จีระวัชร์ เข็มสวัสดิ์ และ วีระพล พูนพิพัฒน์. 2537. อิทธิพล การตัดที่มีผลผลิตและส่วนประกอบทางเคมีของหญ้าเนเปียร์ 3 สายพันธุ์ในพื้นที่จังหวัด ชัยนาท. สำนักพัฒนาอาหารสัตว์ กรมปศุสัตว์, กรุงเทพฯ. กานต์สิรีเกศ เลิศสรรสิริ. 2563. อิทธิพลของความสูงของการตัดในหญ้าพืชอาหารสัตว์ 4 ชนิด และคุณภาพหญ้าหมักต่อผลผลิตองค์ประกอบทางเคมีและความสามารถในการย่อยได้ที่ ปลูกในฤดูหนาวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญา- วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ไกรลาศ เขียวทอง. 2554. “คู่มือการปลูกหญ้าเนเปียพันธุ์ ปากช่อง 1”. แหล่งที่มา: http://milkforthai.org/pdf/grass_2012l.pdf , 3 มกราคม 2568.
เกียรติศักดิ์ กล่ำเอม, เกียรติสุรักษ์ โภคสวัสดิ์, วิรัช สุขสราญ และ ฉายแสง ไผ่แก้ว. 2544. หญ้าหมัก. แหล่งที่มา: http://pvlo-cmi.dld.go.th/Doc/เอกสารเผยแพร่/bหญ้าหมัก. pdf, 3 มกราคม 2568. คณาจารย์ภาควิชาพืชไร่นา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2547. พืชเศรษฐกิจ (พิมพ์ครั้งที่ 2). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. จินตน์กานต์ งามสุทธา. 2558. ธัญพืชมากประโยชน์ข้าวโพดข้าวเหนียวสีม่วง. แหล่งที่มา: http://www.doa.go.th/pibai/pibai/n14/v_11-dec/rai.html, 10 ธันวาคม 2567. จิตติมา กันตนามัลลกุล. 2561. อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ของประเทศไทย. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช, นนทบุรี. จีระวัชร์ เข็มสวัสดิ์, ฉายแสง ไผ่แก้ว, วิรัช สุขสำราญ, มนัส อภินาคพงษ์, เกียรติสุรักษ์ โภคสวัสดิ์, เกียรติศักดิ์ กล่ำเอม, ธำรงศักดิ์ พลบำรุง, วีระศักดิ์ จิโนแสง และ ลักขณา วุฒิปาร์ชอำไพ. 2545. หญ้าเนเปียร์. แหล่งที่มา: https://www.theherbcottage.com/na pier-grass, 19 ธันวาคม 2567. ฉันทนา น่วมนวล. 2543. กรรมวิธีการผลิตข้าวโพดหมักคุณภาพดี และ การประเมินคุณภาพ และคุณค่าทางโภชนะเพื่อใช้เลี้ยงโคนม. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, สาขาวิชาสัตวศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ฉันทนา น่วมนวล, สมคิด พรหมมา, บุญล้อม ชีวะอิสระกุล และ บุญเสริม ชีวะอิสระกุล. 2543. การ หาอายุการตัดที่เหมาะสม และผลการเสริมของยูเรียเพื่อผลิตข้าวโพดหมักคุณภาพดี, น.141- 147. ใน รายงานการประชุมเชิงวิชาของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 38 (สาขาสัตว์ และสัตวแพทยศาสตร์). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. โชคชัย เอกทัศนาวรรณ และ เกตุอร ทองเครือ. 2561. การปลูกข้าวโพด. แหล่งที่มา : http://www.eto.ku.ac.th/neweto/ebook/plant/herb_gar/corn2.pdf , 10 ธันวาคม 2567. ฑิฆัมพร ธรรมชีวัน และ ศุภชัย นาควิสุทธ. 2561. ผลของความแตกต่างของสารเสริมหญ้าหมักที่มี ผลต่อคุณภาพและคุณค่าทางอาหารต่อการทำหญ้าหมัก. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, นครสวรรค์. ทรงยศ โชติชุติมา. 2564. หญ้าเนเปียร์แคระ พันธุ์เกษตรศาสตร์ 1. แหล่งที่มา: https://www3 .rdi.ku.ac.th/?p=68180, 3 มกราคม 2568. บรรหาร ทินประบุตร, พุฒิสิทธิ์ ธราพัฒนะพงศ์, วัลภา ประเสริฐศิลา, พีชรัช ประเสริฐผล และ ปรเมศวร์ รัตนผล. 2554. ข้าวโพดกินอร่อยต้านโรค. สำนักพิมพ์แบงค์คอกบุ๊คส์, กรุงเทพฯ. บุญล้อม ชีวะอิสระกุล และ ชูศักดิ์ แสงสินธุ์. 2533. การเปรียบเทียบต้นข้าวโพดหวานหลังเก็บ ฝักหมักกับหญ้ารูซี่ หรือฟางหมักยูเรียเป็นอาหารฐานสำหรับโครุ่น. มหาวิทยาลัย- เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. บุญฤา วิไลพล. 2539. พืชอาหารสัตว์เขตร้อนและการจัดการ ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 4. สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น. เทียนทิพย์ ไกรพรม, สิทธิศักดิ์ จันทรัตน์, ปัทมา หมาดทิ้ง, และ ฮามีน๊ะ ดือราซอ. 2561. การศึกษา คุณค่าทางโภชนะของทางใบปาล์มน้ำมันหมักร่วมกับกากน้ำตาล. วารสารวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี มรย. 3(2): 1-7. ธนากรณ์ ปราณีตพลกรัง, แพรวพรรณ ชูช่วย และ กรรณิกา อัมพุช. 2565. ผลการเสริมยีสต์ที่มีผล ต่อคุณภาพของหญ้าเนเปียร์หมักร่วมกับหญ้ารูซี่. วารสารเกษตรและอาหาร มรวอ. 2(1): 36-42. นริสรา คงสุข, ศิวัช สังข์ศรีทวงษ์, เวทชัย เปล่งวิทยา, เสาวลักษณ์ แย้มหมื่นอาจ และ กิตติมา กองทอง. 2563. ผลของการเสริม Lactobacillus plantarum BCC 65951 ต่อคุณภาพ การหมักของหญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1 หมัก โดยวิธีวัดแก๊สในห้องปฏิบัติการและการย่อยสลาย ในกระเพาะรูเมน. วารสารเกษตร. 36(1): 145-153. พรชัย ล้อวิลัย. 2548. พืชอาหารสัตว์หมัก Silage. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น. พิพัฒน์ เหลืองลาวัณย์ และ วิศิษฐิพร สุขสมบัติ. 2558. การศึกษาการใช้ Lactobacillus spp. ต่อกระบวนการหมักของพืชหมัก. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, นครราชสีมา. เพ็ญศรี ศรประสิทธิ์, จินดา สนิทวงศ์ฯ และ คง ภักดีมี. 2539. การใช้ประโยชน์ต้นข้าวโพดหลัง เก็บฝักเป็นอาหารสัตว์สำหรับโครีดนม. กรมปศุสัตว์, กรุงเทพฯ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะเกษตร กำแพงแสน ภาควิชาพืชไร่นา. 2558. บทปฏิบัติการที่ 4 ข้าวโพด (Corn). แหล่งที่มา: http://agron.agri.kps.ku.ac.th/index.php/th/2015-04- 20-02-02-25/30-economic-crops/70-economic-crops-corn, 10 ธันวาคม 2567. เมธา วรรณพัฒน์. 2563. โภชนศาตร์สัตว์เคี้ยวเอื้องชั้นสูง. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย ขอนแก่น, ขอนแก่น. วารุณี พานิชผล. 2548. เทคนิคการทำพืชอาหารหมัก. กระทรวงการเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. วารุณี พานิชผล, ฉายแสง ไผ่แก้ว, สมคิด พรหมมา, โสภณ ชินเวโรจน์, จันทกานต์ อรณนันท์, วิโรจน์ ฤทธิ์ฤาชัย และ วรรณา อ่างทอง. 2547. มาตรฐานพืชอาหารสัตว์หมักคุณภาพดี. กระทรวงการเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. วรวรรณ สั่งแก้ว. 2544. ผลของการใช้เศษผักสดเป็นอาหารเสริมในระดับ 0,10,20 และ 30 เปอร์เซ็นต์ ต่อการเจริญเติบโต ปริมาณอาหารที่บริโภค อัตราแลกเนื้อ เปอร์เซ็นต์ซาก ต้นทุน กำไรของสัตว์ปีกให้เนื้อ. มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี, จันทบุรี. วิโรจน์ ภัทรจินดา. 2546. โคนม. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น. ศูนย์วิจัยพืชไร่ จังหวัดนครสวรรค์. 2561. ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากข้าวโพดเลี้ยงสัตว์. แหล่งที่มา: http://www.doa.go.th/fcrc/nsn/cornproduct.html, 2 กุมภาพันธ์ 2568. ศิวพร พิบูลกุลสัมฤทธิ์ และ ธีรชัย หายทุกข์. 2567. ผลของการใช้สารเสริมในการช่วยหมักที่แตกต่าง กันต่อคุณภาพและองค์ประกอบทางเคมีของหญ้ากินนีสีม่วงหมัก. วารสารแก่น เกษตร. 52(2): 249-260. ศศิพร คุณาพงศ์กิติ, จริยา บุญจะรัชชะ และ สุวรรณี เกศกมลาสน์. 2547. การศึกษาความสัมพันธ ระหวาง ปริมาณคารโบไฮเดรตที่ละลายน้ำไดกับคาความหวานของน้ำในตนพืชอาหารสัตว ที่อายุตางๆ กัน. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร.35(1-2): 21-29. สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2560. ถิ่นฐานดั้งเดิมของข้าวโพด. แหล่งที่มา: https://www3.rdi.ku.ac.th/?p=8961, 10 ธันวาคม 2567. สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2558. ข้าวโพด : การปลูกข้าวโพด. แหล่งที่มา: https://www3.rdi.ku.ac.th/?p=8646, 18 มกราคม 2568. สายัณห์ ทัดศรี. 2547. พืชอาหารสัตว์เขตร้อน. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. สุนทร เรืองเกษม. 2540. ผักกินใบ. ม.ป.ท. (หน้า 88) เสริมศักดิ์ สุวรรณศิลป์. 2543. พืชอาหารสัตว์และการจัดการทุ่งหญ้า. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย- แม่โจ้, เชียงใหม่. อนันท์ เชาว์เครือ, ฉัตรวิรุฬ มาตา และ ดาริกา ชูศรี. 2559. ผลของการใช้สารเสริมต่อคุณค่าทาง โภชนะและคุณภาพของการผลิตยอดอ้อยหมัก. วารสารแก่นเกษตร. 44(1): 528-533. อิทธิพล เผ่าไพศาล, เกียรติศักดิ์ กล่ำเอม, สมพล ไวปัญญา, ฤทัย จันทร์ธิบดี, จิรายุส เข็มสวัสดิ์ และ สิรินาถ อินทร์อยู่. 2563. การผลิตหญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1 สำหรับเลี้ยงสัตว์. แหล่งที่มา: https://nutrition.dld.go.th, 3 มกราคม 2568. หนังสือพิมพ์ผู้จัดการออนไลน์. 2558. โชว์สิ่งทอฝีมือคนไทยจากเส้นใยพลาสติกข้าวโพดครั้งแรก. แหล่งที่มา: https://mgronline.com/science/detail/958000009093, 2 กุมภาพันธ์ 2568. อุดมศักดิ์ ริยะสาร. 2550. คุณค่าทางโภชนะและการใช้ประโยชน์ได้ของหญ้าเนเปียร์หมักสำหรับ โค. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. AOAC. 2000. Official Methods of Analysis of AOAC International. 17th ed. AOAC International. Maryland, USA. Bal, M.A., J.R. Coors and R.D. Shaver. 1997. Impact of the maturity of corn for use as silage in the diets of dairy cow on intake, digestion and milk production. J. Dairy Sci. 80: 2497-2503. Ergin, S., and H. Gumus. 2020. Silage quality, fermentation dynamics and chemical composition of alfalfa silage prepared with salt and lactic acid bacteria inocu- lants. Animal Nutrition and Feed Technology. 20: 367-380 Napompets, B. 1992. Determination of sucrose, glucose and fructose in sugarcane juice and molasses by high performance thin layer chromatog raphy, pp. 875- 882. In Proceeding XXI Congress of the International Society of Sugar Cane Technologists. Bangkok, Thailand. Oladosu, Y., M. Y. Rafii, N. Abdullah, U. Magaji, G. Hussin, A. Ramli, and G. Miah. 2016. Fermentation quality and additives: A case of rice straw silage. BioMed Re- search International. 1-15. Shittu, O.O. Olusiji, Smith and Osinowo, O. 2011. Roughage to concentrate ratio on milk secretion rate in goats. African Journal of Agricultural Research 6(11): 2466-2471. |