งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพทางกายภาพของหญ้าเนเปียร์หมักร่วมกับเศษผักสด และ รำละเอียดในอัตราส่วนที่แตกต่างกัน โดยอัตราส่วนของพืชหมักคือ หญ้าเนเปียร์ต่อผักสด และรำละเอียด ที่แตกต่างกัน แบ่งเป็น 3 ทรีทเมนท์ โดยทรีทเมนท์ที่ 1 อัตราส่วนของหญ้าเนเปียร์ต่อผักสดและรำละเอียด เท่ากับ 20:20:40 ต่อน้ำหนักพืชสด ทรีทเมนท์ที่ 2 อัตราส่วนหญ้าเนเปียร์ต่อผักสดและรำละเอียด เท่ากับ 30:20:30 ต่อน้ำหนักพืชสด และทรีทเมนท์ที่ 3 อัตราส่วนหญ้าเนเปียร์ต่อผักสดและรำละเอียด เท่ากับ 20:40:20 ต่อน้ำหนักพืชสด ทั้ง 3 ทรีทเมนท์ มีการเสริมด้วยกากน้ำตาลร้อยละ 10 ทำการทดลองจำนวนทรีทเมนท์ละ 3 ซ้ำ แต่ละซ้ำใช้พืชหมักจำนวน 9 ถุง รวมทั้งหมด 27 ถุง ใช้ระยะเวลาในการหมัก 21 วัน เนื่องจากเก็บข้อมูลลักษณะทางกายภาพของพืชหมัก คือ ลักษณะปรากฏ สี กลิ่น และเนื้อสัมผัส รวมทั้งข้อมูลค่าความเป็นกรด-ด่างของพืชหมักทั้ง 3 ทรีทเมนท์ ผลการศึกษาพบว่า ลักษณะทางกายภาพของพืชหมัก ทรีทเมนท์ที่ 2 โดยอัตราส่วนของหญ้าเนเปียร์ต่อผักสดและรำละเอียด เท่ากับ 30:20:30 ต่อน้ำหนักพืชสดและเสริมด้วยกากน้ำตาลร้อยละ 10 เหมาะสำหรับการทำพืชหมักเพื่อใช้เป็นอาหารสัตว์มากที่สุด ด้านลักษณะปรากฏของ กลิ่นลักษณะคล้ายผลไม้ดอง เนื้อสัมผัส ไม่จับตัวเป็นก้อน ไม่เป็นเมือกและไม่เละ ใบและลำต้นสภาพคงเดิม ไม่มีสิ่งเจือป่น ไม่มียีสต์หรือเชื้อราเจริญอยู่ และค่าความเป็นกรด-ด่าง เท่ากับ 4.15 ซึ่งเป็นกรดปานกลาง กรมปศุสัตว์. 2547. มาตรฐานพืชอาหารสัตว์หมักของกองอาหารสัตว์. กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์ การเกษตรแห่งประเทศไทย. กรมปศุสัตว์. 2548. หญ้าหมัก. เอกสารคำแนะนำกรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กองบรรณาธิการฐานเกษตรกรรม. 2548. รวมเรื่องผัก. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพ : สํานักพิมพ์ฐาน เกษตรกรรม กองบริหารการค้าข้าว กรมการค้าต่างประเทศ. 2566. สถานการณ์ข้าวโลกและข้าวไทยประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2566. จิรวรรณ โรจนพรทิพย์. 2559. “หญ้าเนเปียร์” พืชไร่ ตัวใหม่ที่น่าจับตามองปลูกดูแลง่ายตลาดกว้างตัด ขายได้ทุกๆ 2 เดือน. เทคโนโลยีชาวบ้าน.https://www.technologychaoban.com/news-slide/article_5016. สืบค้นเมื่อ 3 มีนาคม 2562. จิตติมา อัครธิติพงศ์. 2561. แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในยุคไทยแลนด์ 4.0. วารสารวิทยาการ จัดการปริทัศน์. 20(1): น.1478. ฉันทนา น่วมนวม. 2543. กรรมวิธีในการผลิตข้าวโพดหมักคุณภาพดีและการประเมินคุณภาพและคุณค่า ทางโภชนะเพื่อใช้เลี้ยงโคนม.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่. ฑิฆัมพร ธรรมชีวัน และศุภชัย นาควิสุทธ. 2561. ผลของความแตกต่างของสารเสริมหญ้าหมักที่มีผลต่อ คุณภาพและคุณค่าทางอาหารต่อการทำหญ้าหมัก. น.1-83. มาตรฐานสินค้าเกษตร. 2556. การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับพืชอากหารสัตว์. สำนักงานมาตรฐาน สินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. บุญฤา วิไลพล. 2539. พืชอาหารสัตว์เขตร้อนและการจัดการ. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 4. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น. บุญส่ง และคณะ(2555).การศึกษาคุณภาพของพืชหมักในถุงพลาสติกด าที่อายุการเก็บรักษาต่างๆ. กรม ปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. บุญล้อม ชีวะอิสระกุล, บุญเสริม ชีวะอิสระกุล และ สมคิด พรหมมา. 2543. การปรับปรุงคุณภาพและ การเก็บถนอมอาหารหยาบ. น.192-205 วีระพล ไกรลาส และคณะ (2541). ระยะเวลาการเก็บรักษาที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพของหญ้าเนเปียร์หมัก ในถุงพลาสติก. รายงานผลงานวิจัยกองอาหารสัตว์ประจำปี 2541 กรมปศุสัตว์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. หน้า 272-282. วรวรรณ สั่งแก้ว. 2544. ผลของการใช้เศษผักสดเป็นอาหารเสริมในระดับ 0,10,20 และ 30 เปอร์เซ็นต์ ต่อการเจริญเติบโต ปริมาณอาหารที่บริโภค อัตราแลกเนื้อ เปอร์เซ็นต์ซาก ต้นทุน กำไรของสัตว์ ปีกให้เนื้อ. จันทบุรี: คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันราชภัฏรำไพพรรณี. วารุณี พานิชผล (2548). เทคนิคการทำพืชอาหารหมัก : กรมปศุสัตว์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กรุงเทพฯ วารุณี พานิชผล, ฉายแสง ไผ่แก้ว, สมคิด พรหมมา, โสภณ ชินเวโรจน์, จันทกานต์ อรณนันท์, วิโรจน์ ฤทธิ์ฤาชัย และวรรณา อ่างทอง. 2547. มาตรฐานพืชอาหารสัตว์หมักคุณภาพดี. กรุงเทพฯ : กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตร และสหกรณ์. พรชัย ล้อวิลัย.2548. พืชอาหารสัตว์หมัก. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์. ม.ป.ป. Food Network Solution ศูนย์เครือข่ายข้อมูลอาหาร. เทียนทิพย์ ไกรพรม, สิทธิศักดิ์ จันทรัตน์, ปัทมา หมาดทิ้ง, และฮามีน๊ะ ดือราซอ. 2561. การศึกษาคุณค่า ทางโภชนะของทางใบปาล์มน้ำมันหมักร่วมกับกากน้ำตาล. วรสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มรย. 3(2): น.1-7. ทิพาพร ชาญปรีชา, พรพรรณ แสนภูมิ, จันทร์จิรา สิทธิยะและ สุภาวดี ฉิมทอง. 2559. ผลของชนิดหญ้า ต่อคุณภาพน้ำหมัก. แก่นเกษตร 44(1): น.1-24. สุนทร เรืองเกษม. 2540. ผักกินใบ. กรุงเทพฯ: ม.ป.พ. น.88. ศศิพร คุณาพงศ์กิติ, จริยา บุญจะรัชชะ และสุวรรณี เกศกมลาสน์. 2547. การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ปริมาณคาร์โบไฮเดรตที่ละลายน้ำได้กับความหวานของน้ำในต้นพืชอาหารสัตว์ที่อายุต่างกัน. กรุงเทพฯ : สำนักพัฒนาอาหารสัตว์ กรมปศุสัตว์. อุทัย คันโธ. 2566. อาหารสุกรและสัตว์ปีกเชิงประยุกต์. สำนักพิมพ์ : บริษัทยูเคทีพับลิชชิ่งจำกัด. น.1-712. อุทัย คันโธ, รัสนันท์ สว่างคำ, วราพันธุ์ จินตณวิชญ์, สุกัญญา จัตตุพรพงษ์. 2549. ผลของการใช้รำสกัด น้ำมันและรำละเอียดระดับสูงในสูตรอาหารต่อค่าการย่อยได้ของโปรตีน พลังงาน แคลเซียม และ ฟอสฟอรัสในสุกรระยะรุ่น-ขุน. ครั้งที่ 3. การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยา เขตกำแพงแสน ครั้งที่ 3. น.472-479. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. อนันท์ เชาว์เครือ,ฉัตรวิรุฬ มาตา และดาริกา ชูศรี. 2558. ศึกษาผลของการใช้สารเสริมต่อคุณค่าทาง โภชนะและคุณภาพของการผลิตยอดอ้อยหมัก. มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น อนุธิดา อุ้ยมาก, บุษบง นาคพงษ์ และ พัทธกานต์ ดงบัง. 2561. ผลของความแตกต่างของสารเสริมหญ้า หมักที่มีผลต่อคุณภาพและคุณค่าทางอาหารในการทำหญ้าหมัก. น.1-68. เสาวลักษณ์ แย้มหมื่นอาจ, ณิชตา เป็งทิดา, พรทิพย์ แสนยอง, นพพล ชุบทอง, ชัยวัฒน์ อาจิน และ ณรกมล เลาห์รอดพันธ์. 2555. ศึกษาผลการเสริมยูเรียและกากน้ำตาลต่อคุณภาพของเปลือกข้าวโพดหมักและความสามารถในการย่อยสลาย ในกระเพาะรูเมนของโคดอย. แก่นเกษตร. 40(2): น.187-192 AOAC. 2000. Official methods of analysis of the association of the official analysis chemists. Arlington: Association of Official Analytical Chemists. USDA. 2012. Census of Agriculture Historical Historical Archive. National Agricultural Statistics Service (NASS). 2(1). Zobell, D. R., Okine, E. K., Olson, K. C., Wiedmeier, R. D., Goonewardene L. A. & Stonecipher, C. (2004). The feasibility of feeding whey silage and effects on production and digestibility in growing cattle. J. Anim. Vet. Advances, 3(12), 804-809. |