- ชื่อเรื่อง : ผลของน้ามะพร้าว BA และ IBA ต่อการเจริญเติบโตของกล้วยไม้แปรงสีฟันในหลอดทดลอง
- title : EFFECTS OF COCONUT WATER BA AND IBA ON DENDROBIUM SECUNDUM (BLUME) LINDL. GROWTH IN VITRO
- ผู้แต่ง : นางสาววาสิทฐี ทิมเกลี้ยง
อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ประธานหลักสูตร : อาจารย์ ดร.ราชาวดี ยอดเศรณี ปีการศึกษา : 2559 - บทคัดย่อ :
กำรศึกษำผลของน้ำมะพร้ำว BA และ IBA เพื่อให้ได้ควำมเข้มข้นที่เหมำะสมส้ำหรับกำรเจริญเติบโตของกล้วยไม้เอื องแปรงสีฟัน โดยน้ำโปรโตคอร์มของกล้วยไม้เอื องแปรงสีฟันขนำด 0.5 เซนติเมตร มำเพำะเลี ยงบนอำหำรสูตร ¼MS ที่เติม BA ที่ระดับเข้มข้น 0, 0.2, 0.4, 0.6 และ 0.8 มิลลิกรัมต่อลิตร เพำะเลี ยงภำยใต้แสง 1,000 ลักซ์ ที่อุณหภูมิ 26 ± 2 องศำเซลเซียส เป็นระยะเวลำ 10 สัปดำห์ พบว่ำ สูตรอำหำรที่เติม BA ควำมเข้มข้น 0.2, 0.4 และ 0.8 มิลลิกรัมต่อลิตร มีอัตรำกำรรอดชีวิตมำกที่สุดเท่ำกับ 100 เปอร์เซ็นต์ อำหำรสูตร ¼MS ที่เติม BA ควำมเข้มข้น 0.8 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ควำมสูงเท่ำกับ 1.08 เซนติเมตร และอำหำรสูตร ¼MS ที่ไม่เติม BA ให้จ้ำนวนใบมำกที่สุด 13.50 ใบต่อต้น ส้ำหรับกำรชักน้ำรำกโดยน้ำต้นกล้ำของกล้วยไม้เอื องแปรงสีฟัน ขนำด 1 เซนติเมตร มำเพำะเลี ยงบนอำหำรสูตร MS ที่เติม IBA ที่ระดับเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่ำ สูตรอำหำรที่เติม IBA ควำมเข้มข้น 0.25 และ 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร มี อัตรำกำรรอดชีวิตมำกที่สุดเฉลี่ย 87.50 เปอร์เซ็นต์ อำหำรสูตร MS ที่เติม IBA ควำมเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้ำนวนรำกมำกที่สุด 2.00 รำกต่อต้น - เอกสารอ้างอิง :
ธวัชชัย ทรัพย์ถิระ, สุภาพ สุนทรนนท์ และ สุมนทิพย์ บุนนาค. 2556. ผลของสารควบเจริญเติบโตที่มีต่อการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยไม้เอื้องสายล่องแล่ง (Dendrobium aphyllum (Roxb.) Fischer) ในสภาพปลอดเชื้อ. วารสารมหาวิทยาลัยขอนแก่น 13(1): 3-7.
นพวรรณ พูลพิพัฒน์, พุทธพงษ์ สร้อยเพชรเกษม และ พีระศักดิ์ ฉายประสาท. 2561. ผลของ NAA และ BA ที่มีต่อการเจริญเติบโตของกล้วยไม้เอื้องคาปอน (Dendrobium dixanthun Lchb.f.) เอื้องคากิ่ว (Dendroium signatum Rchb. f.) และเอื้องเก๊ากิ่วแม่สะเรียง (Dendroium tortile Lindl.) ในสภาพปลอดเชื้อ. วารสารมหาวิทยาลัยนเรศวร 49(1): 230-233.
วัลยา มงคลสวัสดิ์ และ ทัศนัย ปัญจันทร์สิงห์. 2558. การขยายพันธุ์เอื้องหางกระรอก (Liparis regnieri) ในสภาพปลอดเชื้อ. วารสารวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ 11(พิเศษ): 118-123.
เศรษฐมันตร์ กาญจนกุล. 2552. กล้วยไม้ไทย. พิมพ์ครั้งที่ 4. สานักพิมพ์เศรษฐศิลป์, กรุงเทพฯ.
สุชาดา พัฒนกนก. 2547. การเพาะเลี้ยงกล้วยไม้. เอกสารคาสอนวิชาการเพาะเลี้ยงกล้วยไม้. คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาลัยราชภัฏวไลอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, ปทุมธานี.
สุมิตรา สุปินราช และอิศร์ สุปินราช. 2557ก. ผลของ IBA และ NAA ต่อการชักนาให้เกิดรากของต้นอ่อนกล้วยไม้ช้างการ์ตูน [Rhynchostylis gigantea (Lindl.) Ridl. ‘Cartoon’] ในสภาพปลอดเชื้อ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 22(4): 2-7.
สุมิตรา สุปินราช และอิศร์ สุปินราช. 2557ข. ผลของ BA และ NAA ต่อการเจริญเติบโตของต้นกล้าเอื้องผึ้งในสภาพปลอดเชื้อ. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา 19(2): 84-92.
อบฉันท์ ไทยทอง. 2549. กล้วยไม้เมืองไทย. พิมพ์ครั้งที่ 12. สานักพิมพ์บ้านและสวน, กรุงเทพฯ.
Murashige, T. and Skoog, F. 1962. A revised medium for rapid growth and Bioassay swith
tobacco tissue cultures. Plant physiology 15: 473-497.
Vacin, E.F. and Went, F.W. 1949. Some pH changes in nutrient solution. Botanical Gazette 110: 605 -613. |