- ชื่อเรื่อง : ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของน้าต่อการงอกของเมล็ดพันธุ์ข้าว
- title : EFFECT OF WATER POTENTIAL OF HYDROGEN ION ON GERMINATION AND NORMAL SEEDLING OF RICE
- ผู้แต่ง : นางสาวกรกมล เกตุปราชญ์
อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.พิษณุ แก้วตะพาน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ประธานหลักสูตร : อาจารย์ ดร.ราชาวดี ยอดเศรณี ปีการศึกษา : 2562 - บทคัดย่อ :
การทดลองนี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาค่าความเป็นกรดเป็นด่างของน้าต่อเปอร์เซ็นต์การงอกของพันธุ์ข้าว และเพื่อศึกษาค่าความเป็นกรดเป็นด่างของน้าที่มีผลต่อความเร็วในการงอกของเมล็ดพันธุ์ข้าวโดยวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Desing (CRD) มีทั งหมด 5 ทรีทเมนต์ แต่ละทรีทเมนต์มี 4 ซ้า โดยแต่ละทรีทเมนต์ประกอบด้วยน้าที่ใช้เพาะทดสอบเมล็ดที่มีระดับค่าความเป็นกรดเป็นด่างแตกต่างกันคือ 7.0, 6.0, 5.5, 5.0 และ 4.5 ตามล้าดับ โดยใช้เมล็ดพันธุ์ข้าว 2 แบบคือ เมล็ดพันธุ์ข้าวแบบเมล็ดแห้ง และเมล็ดข้าวที่บ่มให้งอกแล้ว โดยน้าเมล็ดทั ง 2 ชนิดลงเพาะทดสอบโดยวิธี Top of Paper โดยใช้น้าที่มีค่าความที่เป็นกรดเป็นด่างต่างกันดังข้างต้นรดน้าหรือให้ความชื นแล้วตรวจสอบการงอกทุกวันจนครบ 10 วัน จากการศึกษาเปอร์เซ็นต์การงอกของเมล็ดพันธุ์ข้าวดอกมะลิ 105 พบว่ามีเปอร์เซ็นต์การงอกต้นกล้าปกติเมล็ดแห้งสูงสุดเมื่อเพาะด้วยน้าที่มีค่า pH 7.0 เท่ากับ 96.00 % ส่วนข้าวเมล็ดแห้งพันธุ์สุพรรณบุรี1 พบว่ามีเปอร์เซ็นต์การงอกของต้นกล้าปกติเมล็ดแห้งสูงสุดเมื่อเพาะด้วยน้าที่มีค่า pH 7.0 เท่ากับ 94.5% และพันธุ์ข้าวหอมนิลที่มีเปอร์เซ็นต์การงอกของต้นกล้าปกติเมล็ดแห้งสูงสุด73.00% เมื่อเพาะด้วยน้าที่มีค่า pH 7.0 เมื่อทดสอบกับเมล็ดพันธุ์ที่บ่มเเล้วพบว่าข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 มีการงอกต้นกล้าปกติสูงสุดเท่ากับ 97.00 เมื่อเพาะด้วยสารละลายที่มีค่า pH 6.0 ส่วนข้าวพันธุ์สุพรรณบุรี 1 ที่เพาะแล้วมีต้นกล้าปกติสูงสุดไม่แตกต่างกันทางสถิติเท่ากับ 98.00, 98.00 เเละ 97.00% เมื่อเพาะด้วยสารละลายที่มีค่า pH 7.0, 6.0 และ 5.5 ตามลาดับ และพันธุ์ข้าวหอมนิลที่บ่มเเล้วมีต้นกล้าปกติสูงสุดเท่ากับ 49.5% เมื่อเพาะด้วยสารละลายที่มีค่า pH 7.0 ในส่วนของความเร็วในการงอก ของเมล็ดข้าวแห้งพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 มีความเร็วในการงอกมากสุดที่ pH ของสารละลายเท่ากับ 7.0 และ6.0 โดยท้าให้มีความเร็วในการงอกมากสุดเท่ากับ 9.98 และ 8.94 ตามล้าดับ ส่วนข้าวพันธุ์สุพรรณบุรี 1 มีความเร็วในการงอกมากสุดที่ pH 7.0, 6.0, 5.5 และ 4.5 เท่ากับ 8.68, 7.72, 6.89 และ 6.88 ตามล้าดับ และข้าวหอมนิล มีความเร็วในการงอกมากสุดที่ pH 7.0 เท่ากับ 4.25 ส้าหรับเมล็ดพันธุ์ที่บ่มให้งอกแล้วในพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 โดยให้ความชื นของเมล็ดด้วยสารละลายที่มีค่า pH เท่ากับ 7.0, 6.0 และ 5.5 ท้าให้มีความเร็วในการงอกสูงสุดเท่ากับ 18.60, 18.57 และ 17.89 ตามล้าดับ แต่ไม่
แตกต่างกันทางสถิติ ส่วนเมล็ดข้าวที่บ่มแล้วของพันธุ์สุพรรณบุรี 1 ที่เพาะด้วยสารละลาย pH 7.0, 6.0, 5.5 และ 5.0 ท้าให้มีความเร็วในการงอกสูงสุดเท่ากับ 17.26, 16.99, 19.1 และ 16.69 และเมล็ดพันธุ์ข้าวขพันธุ์หอมนิลที่เพาะด้วยสารละลายที่มีค่า pH 7.0 ท้าให้เมล็ดมีความเร็วในการงอกสูงสุดเท่ากับ 4.26 - เอกสารอ้างอิง :
กรมพัฒนาที่ดิน. 2532. กำรจัดกำรดินและพืชเพื่อปรับปรุงดินอินทรียวัตถุต่ำ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ. กรุงเทพฯ.
กรมวิทยาศาสตร์บริการ. 2553. ประมวลสารสนเทศพร้อมใช้ฝนกรด. กระทรวงวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีสำนักห้องสมุดและศูนย์สำรสนเทศวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี.
กองวิจัยและพัฒนาข้าวกรมการข้าว. 2555. ข้ำวหอมมะลิ105. แหล่งที่มา: https://www. rakbankerd.com, 25 มีนาคม 2562.
กองวิจัยและพัฒนาข้าวกรมการข้าวกรมการข้าว. 2555. องค์ความรู้เรื่องข้าว. RKB.แหล่งที่มา: https://www.rakbankerd.com, 25 มีนาคม 2559.
กองวิจัยและพัฒนาข้าวกรมการข้าวกรมการข้าว. 2556. ข้ำวสุพรรณบุรี 1 แหล่งที่มา: https://www.rakbankerd.com, 25 มีนาคม 2562.
ดารุณี ศรีภูธร สงวนศักดิ์ ธนาพรพูนพงษ์ และ สุชาดา เวียรศิลป์. 2553. ผลของควำมเป็นกรด-ด่ำง ของอำหำรต่อกำรชักนำให้เกิดแคลลัสในข้ำวพันธุ์ขำวดอกมะลิ 105: 61-67. 25 มีนาคม 2562.
THAI-THAIFOOD. 2560. ข้าวหอมนิล. Thai Food. แห่งที่มา: https://www.thai-thaifood.com, 26 มีนาคม 2562.
ทีมงานรักบ้านเกิด. 2555. ข้าวหอมนิล. รักบ้ำนเกิด. แหล่างที่มา: https://www.rakbankerd.com,
26 มีนาคม 2562.
เทคโนโลยีเครื่องคิดเลข เครื่องมือวัดทางไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์. 2559. ค่ำ pH ในดินส่งผลกระทบต่อสำรอำหำรแร่ธำตุและกำรเจริญเติบโตของพืช. แหล่งที่มา: http://www.ewda2008.org/, 19 กุมภาพันธ์ 2562.
บรรเจิดลักษณ์ จินตฤทธิ์, รติกร ณ ลาปาง, กัญญาพร สังข์แก้ว, และรสมาลิน ณ ระนอง. 2558. จัดกำรดินเปรี้ยวจัดและดินกรดเพื่อกำรผลิตข้ำวที่มีคุณค่ำทำงโภชนำกำรสูง. ครั้งที่ 53. สานักวิจัยและพัฒนาการจัดการที่ดิน. กรุงเทพฯ.
ประพาส วีระแพทย์. 2520. ลักษณะของข้าวที่สาคัญทางการเกษตร. สำรำนุกรมไทยสำหรับเยำวชน. แหล่งที่มา: http://kanchanapisek.or.th, 3 มีนาคม 2562.
ประพาส วีระแพทย์. 2520. การปลูกข้าว. สำรำนุกรมไทยสำหรับเยำวชน. แหล่งที่มา:http://kanchanapisek.or.th, 4 มีนาคม 2562.
ประพาส วีระแพทย์. 2520. การปลูกข้าวของประเทศไทย. สำรำนุกรมไทยสำหรับเยำวชน. แหล่งที่มา: http://kanchanapisek.or.th, 4 มีนาคม 2562.
ศิราณี วงศ์กระจ่าง และ บัญชา รัตนีทู. 2557. การจัดการดินกรดโดยใช้ปูนและอินทรียวัตถุ. วำรสำรมหำวิทยำลัยนรำธิวำสรำชนครินทร์ 6(1): 104-105.
สารานุกรมเสรี. 2562. ข้าว. วิกิพีเดีย. แหล่งที่มา: https://th.wikipedia.org/, 3 มีนาคม 2562. สารานุกรมภูมิปัญญาท้องถิ่นไทยภูมิปัญญาข้าวไทย, 2555. การเตรียมดิน. วันทวี. แหล่งที่มา: https://sites.google.com/a/wanthawee.com, 4 มีนาคม 2562.
สานักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กรมวิทยาศาสตร์บริการ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2553. ฝนกรด. แหล่งที่มา: https://www.siweb.dss.go.th, 26 มีนาคม 2562.
|