- ชื่อเรื่อง : ผลของแสงสีต่อการงอกของเมล็ดพันธุ์มะเขือเทศ
- title : THE EFFECT OF LIGHT ON TOMATO SEED GERMINATION
- ผู้แต่ง : นายสันหวัช พันเดช
อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.พิษณุ แก้วตะพาน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ประธานหลักสูตร : อาจารย์ ดร.ราชาวดี ยอดเศรณี ปีการศึกษา : 2562 - บทคัดย่อ :
การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแสงสีที่ต่างกันต่อการงอกของเมล็ดพันธุ์มะเขือเทศสายพันธุ์สีดา ในการทดลองตรวจสอบวัดเปอร์เซ็นต์การงอกและความเร็วในการงอกของเมล็ดพันธุ์มะเขือเทศภายใต้สภาวะแสงแตกต่างกันโดยมี 4 ทรีทเมนต์ ทรีทเมนต์ละ 4 ซ้้า คือสีฟ้า แดง ขาว และเขียว โดยวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) จากการทดลองพบว่าการให้แสงสีที่แตกต่างกันท้าให้เมล็ดพันธุ์มะเขือเทศมีการงอกที่แตกต่างกัน ซึ่งแสงสีแดงเปอร์เซ็นต์มีการงอกสูงสุดและมีความเร็วในการงอกสูงสุดซึ่งค่าเฉลี่ยเท่ากับ 82.00 และ8.49 ตามล้าดับ แสงสีที่ให้เปอร์เซ็นต์งอกและความเร็วในการงอกน้อยที่สุดคือแสงสีฟ้าโดยจะมีค่าเฉลี่ยเท่า 68.50 และ6.29 ตามล้าดับ จึงสามารถสรุปได้ว่าการให้แสงสีแดงมีผลท้าให้เปอร์เซ็นต์การงอกสูงสุด และมีความเร็วในการงอกสูงที่สุด - เอกสารอ้างอิง :
จวงจันทร์ ดวงพัตรา. 2529. เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์. พิมพ์โรงพิมพ์ทั่งฮั่วซิน, กรุงเทพฯ.
จวงจันทร์ ดวงพัตรา. 2529. คุณภาพเมล็ดพันธุ์. พิมพ์โรงพิมพ์ทั่งฮั่วซิน. กรุงเทพฯ
กรุง สีตะธนี. 2553. การปลูกมะเขือเทศในฤดูกาลต่างๆ. http://www.rdi.kps.ku.ac.th/tvrc /public/ public2_tomato.pdf [11 พฤษภาคม 2562]
จิตจานง ทุมแสน. 2520. การศึกษาพันธุ์มะเขือเทศที่เหมาะสมต่อการปลูกในฤดูร้อนของประเทศ ไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. ภาควิชาพืชสวน. มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ
ศศิธรวุฒิวณิชย. 2545. โรคของผักและการควบคุมโรค. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.
บุญส่ง เอกพงษ์. 2557. มะเขือเทศ อุตสาหกรรมลูกผสมเปิดพันธุ์ ใหม่UBU406. Journal of Science and Technology 16(1): 76-82.
อนุพันธ์ กงบังเกิด สกุลรัตน์ ทองดอนง้าว สมจิตต์ หอมจันทร์และ พิทักษ์ อินธิมา. 2560.
ผลของแสงต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของโปรโตคอร์มและต้นอ่อน กล้วยไม้สาเภางามในสภาพปลอดเชื้อ. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพาปี ที่ 22 หน้า. 8-13
ราไพ นามพิลา สุภัทร์อิศรางกูร ณ อยุธยา และ สังคม เตชะวงศ์เสถียร. 2559. อิทธิพลของไดโอด
เปล่งแสง (LEDs) ต่อการงอกและการเจริญของเมล็ดมะละกอ. วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์ปีที่3. หน้า. 13 |