อนูเบียสแคระ (Anubias barteri var. nana (Engl.) Crusio ‘Petite’) เป็นพรรณไม้น้าที่มีขนาดเล็ก นิยมน้ามาประดับตกแต่งบริเวณส่วนหน้าของตู้ปลาสวยงาม มีการเจริญเติบโตช้า จึงน้ามาขยายพันธุ์เพื่อให้ได้ต้นจ้านวนมากในระยะเวลาสั นในสภาพปลอดเชื อ การทดลองนี ท้าการศึกษาปัจจัยที่เหมาะสมต่อการชักน้าให้เกิดรากและยอด โดยน้าต้นอ่อนในสภาพปลอดเชื อมาเลี ยงบนอาหารแข็งสูตร MS ที่เติม BA ความเข้มข้น 0.5 1.0 1.5 2.0 หรือ 2.5 มิลลิกรัมต่อลิตร เพื่อชักน้าให้เกิดยอด และ NAA ความเข้มข้น 0.5 1.0 หรือ 1.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ 0.125 หรือ 0.25 กรัมต่อลิตร เพื่อชักน้าให้เกิดราก เติมวุ้น 2.5 กรัมต่อลิตร เติมน้าตาลซูโครส 30 กรัมต่อลิตร ปรับ pH 5.7 วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) สิ่งทดลองละ 10 ซ้า ผลการทดลองพบว่าระยะเวลา 1 สัปดาห์ ทุกสูตรอาหารเกิดการแตกยอดเท่ากัน ให้จ้านวนยอด 1.00 ยอด/ต้น ทุกสูตรอาหารไม่มีการเกิดราก ระยะเวลา 2 สัปดาห์ สูตรอาหาร MS ที่ไม่เติม NAA BA และผงถ่าน และ สูตรอาหาร MS ที่เติม BA 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนยอดเฉลี่ยสูงที่สุด 1.25 ยอด/ต้น สูตรอาหาร MS ที่เติมผงถ่าน 0.125 กรัมต่อลิตร ให้จ้านวนรากเฉลี่ยสูงที่สุด 1.62 ราก/ต้น ระยะเวลา 3 สัปดาห์ สูตรอาหาร MS ที่เติม BA 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนยอดเฉลี่ยสูงที่สุด 2.00 ยอด/ต้น สูตรอาหาร MS ที่เติมผงถ่าน 0.125 กรัมต่อลิตร ให้จ้านวนรากเฉลี่ยสูงที่สุด 2.50 ราก/ต้น ระยะเวลา 4 สัปดาห์ สูตรอาหาร MS ที่เติม BA 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนยอดเฉลี่ยสูงที่สุด 8.25 ยอด/ต้น สูตรอาหาร MS ที่เติมผงถ่าน 0.125 กรัมต่อลิตร ให้จ้านวนรากเฉลี่ยสูงที่สุด 5.00 ราก/ต้น ดังนั นสูตรอาหารที่เหมาะกับต้นอนูเบียสแคระ ที่แนะน้าให้ใช้ คือ อาหารสูตร MS ที่เติม BA 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ชักน้าให้เกิดยอดเฉลี่ยสูงที่สุด และสูตรอาหาร MS ที่เติมผงถ่าน 0.125 กรัมต่อลิตร ชักน้าให้เกิดรากเฉลี่ยสูงที่สุด Meenakarn, W. and and Pongchawee, K. 2000. Aquarium plant. Aquatic plant and Ornamental fish Research Institute. Department of Fisheries. Ministry of Agriculture and Cooperative. Bangkok, Thailand. Muhlberg, H. 1982. The Complete Guide to Water Plantd. EP Publishing Limited. London. 392 p. Rataj, K. and T.J. Horeman. 1977. .Aquarium Plant (Their Identification, Cultivation and Ecology). T.F.H. Publ. INC., West Sylvania. 448 p. กาญจนรี พงษ์ฉวี, พัฒนพงษ์ ชูแสง และวิจารณ์ ทองมีเอียด. 2542. การขยายพันธุ์ผมหอมโดยวิธี เพาะเลี ยงเนื อเยื่อ. สถาบันวิจัยสัตว์น้าสวยงามและสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้า. กรุงเทพฯ: กรมประมง. กาญจนรี พงษ์ฉวี. 2547. การเพาะเลี ยงเนื อเยื่ออนูเบียส (Anubias nana Engler). กรมประมง สถาบันวิจัยสัตว์น้าสวยงามและพรรณไม้น้า. เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั งที่ 42 ระหว่างวันที่ 3 – 6 กุมภาพันธุ์ 2547. กรุงเทพฯ. กรมประมง. หน้า 45-52 กาญจนรี พงษ์ฉวี และ ณฐกร ประดิษฐ์สรรพ์. 2547. ผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่มีต่อการเพาะเลี ยงเนื อเยื่ออนูเบียส. เอกสารวิชาการฉบับที่ 13/2547. กรุงเทพฯ: กรมประมง สถาบันวิจัยสัตว์น้าสวยงามและพรรณไม้น้า. กาญจนรี พงษฉวี, รัฐภัทรประดิษฐสรรพ, วรรณดา พิพัฒนเจริญชัย, และวารุณียคันทรง. 2554. การเพาะเลี ยงเนื อเยื่อพรรณไม้น้า Cryptocoryne affinis Hook. f., 1893. สถาบันวิจัยสัตว์น้าสวยงามและพรรณไม้น้า ส้านักวิจัยและพัฒนาประมงน้าจืด กรุงเทพฯ: กรมประมง. กาญจนรี พงษ์ฉวี, สนธิพันธ์ ผาสุกดี, รัฐภัทร์ ประดิษฐ์สรรพ์, วรรณดา พิพัฒน์เจริญชัย, และวารุณีย์ คันทรง. 2555. การเพาะเลี ยงเนื อเยื่ออเมซอนแดง Echinodorus Osiris Rataj, 1970 ในรายงานประชุมวิชาการประมง ประจ้าปี 2555 ระหว่างวันที่ 6-7 มิถุนายน 2555. กรุงเทพฯ:กรมประมง. หน้า 5-20.ไชย ส่องอาชีพ. 2551.ไปดูอาชีพเก็บพรรณไม้น้า วันเพ็ญ มีนกาญจน และกาญจนรี พงษฉวี. 2543. พรรณไมน้าสวยงาม. สถาบันวิจัยสัตวน้าสวยงามและ สถานแสดงพันธุสัตวน้า. กองสงเสริมการประมง. กรมประมง. กระทรวงเกษตรและ สหกรณ. 31 นงนุช เลาหะวิสุทธิ์, อิทธิสุนทร นันทกิจ, สมเกียรติ สีสนอง, ทิพวรรณ ลิมังกูร. 2555. การผลิตพรรณไม้น้าสกุลอนูเบียส (Anubias spp.) ในระบบฟาร์ม เพื่อส่งออก Farm-scale of aquatic plant Anubias spp. production for export. สืบค้นเมื่อ 16 กุมภาพันธ์ 2561 พวงผกา คมสัน. 2546. ขั นตอนการสงออกพันธุไมน้าและการขอใบรับรองปลอดโรคศัตรูพืช. ใน เอกสารประกอบการฝึกอบรมการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการผลิตพรรณไมน้าเพื่อการสงออก. สถาบันวิจัยสัตว์น้าสวยงามและพรรณไมน้า. กรมประมง. กรุงเทพฯ. พีรเดช ทองอ้าไพ. 2529. ฮอร์โมนพืชและสารสังเคราะห์ : แนวทางการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร : หจก. ไดนามิคการพิมพ์. 196 น. สุจิตรา เพชรคง, สุรางค์ สุมโนจิตราภรณ์ และชมพูนุช มรรคทรัพย์. 2553 (ก). ศึกษาวิธีการฟอก ฆ่าเชื อและผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตในการเพาะเลี ยงเนื อเยื่อใบพาย ชนิด Cryptocorynealbida. สถาบันวิจัยและพัฒนาพันธุกรรมสัตว์น้า. กรุงเทพฯ: กรมประมง. อัจฉรี เรืองเดช และคณะ. 2556. ชนิดและปริมาณของผงถ่านในอาหารสังเคราะห์ ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพรรณไม้น้าอนูเบียสบาร์เทอรี่. แหล่งที่มา : http://doi.nrct.go.th. สืบค้นเมื่อ 16 กุมภาพันธ์ 2561 |