- ชื่อเรื่อง : การใช้สารให้ความหวานทดแทนน้าตาลในขนมโสมนัส
- title : USING OF NON-SUGAR SWEETENERS IN KHANOM SOMMANUS
- ผู้แต่ง : นางสาวณัฐกานต์ บุญปลูก
อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นันท์ปภัทร์ ทองคำ หลักสูตร : สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร ประธานหลักสูตร : ผู้ช่วยศาสตราจารย์วัฒนี บุญวิทยา ปีการศึกษา : 2561 - บทคัดย่อ :
การศึกษาการใช้สารทดแทนความหวานเพื่อลดปริมาณนาตาลในขนมโสมนัส โดยทดแทนสารให้ความหวาน 2 ชนิด คือ ซอร์บิทอล และ ไอโซมอลท์ แปรปริมาณ 20, 40 และ 60 เปอร์เซ็นต์ โดยมี 0 เป็นสูตรควบคุม และต้องมีการเติมซูคราโลสซึ่งเป็นสารให้ความหวานยิ่งยวดในปริมาณเล็กน้อย (เพื่อปรับให้ได้ความหวานใกล้เคียงกับสูตรควบคุม) จากการศึกษาชนิดและปริมาณของสารให้ความหวานทดแทนนาตาลในผลิตภัณฑ์ขนมโสมนัส พบว่า ผู้บริโภคยอมรับการใช้สารทดแทนความหวานมากที่สุด คือ ไอโซมอลท์ 60 เปอร์เซ็นต์ ผลการวิเคราะห์ทางเคมีของขนมโสมนัสสูตรควบคุมเปรียบเทียบกับสูตรที่ผู้บริโภคยอมรับมากที่สุด พบว่า สูตรควบคุมมีปริมาณความชื น โปรตีน ไขมัน เถ้า เส้นใย และคาร์โบไฮเดรตร้อยละ 3.66, 8.70, 18.66, 0.98, 11.13, 56.87 และพลังงาน 487.85 กิโลแคลอรี่ ตามลาดับ และสูตรที่ผู้บริโภคยอมรับมากที่สุด คือ ไอโซมอลท์ 60 เปอร์เซ็นต์ มีปริมาณความชื น โปรตีน ไขมัน เถ้า เส้นใย และคาร์โบไฮเดรตร้อยละ 3.70, 9.67, 19.80, 0.91, 11.15, 54.76 และพลังงาน 447.00 กิโลแคลอรี่ ตามลาดับ และการศึกษาอายุการเก็บรักษา พบว่า คุณลักษณะด้านสี กลิ่น (กลิ่นมะพร้าว) รสชาติ ความหวาน เนื อสัมผัส (ความกรอบ) และความชอบรวมของทั ง 2 สูตรมีแนวโน้มลดลงเมื่อระยะเวลาการเก็บรักษามากขึ น (p≤0.05) อยู่ในช่วงยอมรับได้ในสัปดาห์ที่ 3 ของการเก็บรักษา ด้านเนื อสัมผัส (Hardness) พบว่า สูตรควบคุมมีแนวโน้มลดลงเมื่อระยะเวลาการเก็บรักษามากขึ น (p≤0.05) ส่วนสูตรที่ใช้ไอโซมอลท์ 60 เปอร์เซ็นต์ มีค่าเพิ่มขึ นในระยะเวลา 3 สัปดาห์แรก การศึกษาทางเคมี ค่า Water Activity (aw) พบว่า ทั ง 2 สูตรมีแนวโน้มเพิ่มขึ นเมื่อระยะเวลาการเก็บรักษามากขึ น
- เอกสารอ้างอิง :
กวี จุติกุล. 2530. นาตาล, น. 227-297. ใน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. หน่วยที่ 4 เอกสาร
การสอนชุดวิชาอาหารและโภชนาการ เล่มที่ 1. บริษัท นวกนก จากัด, กรุงเทพฯ.
กนกกาญจน์ ปานจันทร์. 2559. สารให้ความหวานแทนนาตาล. วารสารกรมวิทยาศาสตร์บริการ.
กมลทิพย์ กรรไพเราะ และ สุธีรา ศรีสุข. 2559. การพัฒนาและใช้ประโยชน์จากดาหลาเพื่อเป็น
ผลิตภัณฑ์อาหารเชิงสุขภาพ. รายงานวิจัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.
กระทรวงสาธารณะสุข. 2558. คนไทยกินหวานจัดเฉลี่ยคนละ 30 กก./ปี สูงกว่าเกณฑ์องค์การ
อนามัยโลก 3 เท่า. แหล่งที่มา: https://www.isranews.org/thaireform-other-news/41686-suga29.html. 5 กุมภาพันธ์ 2561.
กล้าณรงค์ ศรีรอต. 2542. สารให้ความหวาน = Sweeteners. จาร์พาเท็คเซ็นเตอร์, กรุงเทพฯ.
เกศิณี ปลุกอร่าม. 2540. มะนาว. สานักพิมพ์เพชรกะรัต, กรุงเทพฯ.
กรมอาชีวศึกษา. 2525. ขนมไทย. โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, กรุงเทพฯ.
ขนิษฐา ชัยรัตนาวรรณ. 2549. ชนิดของไขมัน. แหล่งที่มา: http://www.tpa.or.th/writer/read_
this_book_topic.php?pageid=5&bookID=140&read=true&count=true. 19 สิงหาคม 2561.
เข็มทอง นิ่มจินดา. 2538. ทฤษฎีอาหาร. โรงพิมพ์การศาสนา, กรุงเทพฯ.
งามทิพย์ ภู่วโรดม. 2538. การบรรจุภัณฑ์อาหารเบื องต้น, น. 313-365. ใน
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. หน่วยที่ 9 เอกสารการสอนชุดวิชาวิทยาศาสตร์การอาหารเบื องต้น. ห้างหุ้นส่วนจากัดโรงพิมพ์ชวนชื่น, นนทบุรี.
จริยา เดชกุญชร. 2549. ขนมไทย เล่ม 2. บริษัท วี. พริ นท์ (1991) จากัด, กรุงเทพฯ.
จันทนา อึ งชูศักดิ์. 2555. น้าตาล สุขภาพ และการจัดการด้านการบริโภคที่เหมาะสม. โรงพิมพ์
องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์.
จิตธนา แจ่มเมฆ และ อรอนงค์ นัยวิกุล. 2541. เบเกอรี่เทคโนโลยีเบื องต้น. พิมพ์ครั งที่ 5.
สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
ชุติมา ศิริกุลชยานนท์ และ จันทนา อึ งชูศักดิ์. 2555. น้าตาล สุขภาพ และการจัดการด้านการ
บริโภคที่เหมาะสม. โรงพิมพ์ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์.
ทัศนีย์ โรจน์ไพบูลย์, 2532. ต้ารับขนมของไทย. บริษัท เจเนอรัลบุ๊คส์เซ็นเตอร์ จากัด, กรุงเทพฯ.
ณรงค์ นิยมวิทย์ และ อัญชนีย์ อุทัยพัฒนาชีพ. 2528. วิทยาศาสตร์การประกอบอาหาร.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
ณัฐรัตน์ ศรีสังวาลย์. 2555. การปรับปรุงคุณค่าทางโภชนาการของขนมอาลัวและฝอยทอง โดย
การใช้สารให้ความหวานทดแทนน้าตาล. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยศิลปากร.
นภสร จุ้ยเจริญ. 2546. การพัฒนาขนมน้าดอกไม้เพื่อน้าไปสู่การก้าหนดมาตรฐานของไทย.
วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
นันทวัน ชมโฉม, เชาวลิต อุปฐาก และ นพพร สกุลยืนยงสุข. 2556. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมไทย
จากกากมะพร้าวเหลือใช้. รายงานการวิจัย, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.
นิธิยา รัตนาปนนท์. 2551. เคมีอาหาร. สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ.
เนตรนภิส วัฒนสุชาติ และ ศิริพร ตันจอ. 2555. น้าตาล สุขภาพ และการจัดการด้านการบริโภค
ที่เหมาะสม. โรงพิมพ์ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์.
นุชรี เบณจานุวัตรา. 2529. ไข่, น. 527-623. ใน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. หน่วยที่ 9
เอกสารการสอนชุดวิชาอาหารและโภชนาการ. บริษัท นวกนก จากัด, กรุงเทพฯ.
นงลักษณ์ ยาพานิช. 2542. ขนมโสมนัสเสริมใยอาหาร. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท,
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ปณพร เอื องพูลสวัสดิ์ และ ทุติยาภรณ์ จิตตะปาโล. 2559. ผลิตภัณฑ์ขนมฝอยทองโดยใช้สตีวิโอ
ไซด์และซูคราโลสทดแทนน้าตาลบางส่วน. รายงานการวิจัย, มหาวิทยาลัยพายัพ.
ปานทิพย์ ผดุงศิลป์. 2545. เอกสารประกอบการสอนวิชาขนมไทย. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช
มงคลพระนคร, กรุงเทพฯ.
ปานทิพย์ ผดุงศิลป์ และ ปรัศนีย์ ทับใบแย้ม. 2557. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมโสมนัสด้วยการ
เสริมใบตะคึก. รายงานการวิจัย, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.
ปิยนุสร์ น้อยด้วง และ นคร บรรดิจ. 2558. การใช้มอลทิทอลและซูคราโลสในการผลิตคุกกี เนย
แคลอรี่ต่า. สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 4 (2): 42-51.
พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์ และ นิธิยา รัตนาปนนท์. 2556. Nucleation / การเกิดนิวเคลียสผลึก.
Food Wiki. แหล่งที่มา: http://www.foodnetworksolution.com/wiki/
word/0414/nucleation-การเกิดนิวเคลียสผลึก. 2 พฤศจิกายน 2561.
ไพบูลย์ ธรรมรัตน์วาสิก. 2529. กรรมวิธีการแปรรูปอาหาร. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์,
ปัตตานี.
ไพโรจน์ วิริยจารี. 2535. การวางแผนและการวิเคราะห์ทางด้านประสาทสัมผัส.
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.
มยุรี ภาคลาเจียก. 2540. บรรจุภัณฑ์พลาสติกสาหรับอาหาร. วารสารพลาสติก 14 (1): 23-26.
รุ่งนภา วิสิฐอุดรการ. 2540. การประเมินอายุการเก็บของอาหาร. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,
กรุงเทพฯ.
รมณี สงวนดีกุล. 2538. ไข่, น. 126-142. ใน หน่วยที่ 10 เอกสารการสอนชุดวิชาวิทยาศาสตร์
การอาหารเบื องต้น. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, นนทบุรี.
ลักขณา รุจนะไกรกานต์ และ นิธิยา รัตนาปนนท์. 2531. หลักการวิเคราะห์อาหาร.
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.
วัฒนี บุญวิทยา. 2560. เทคโนโลยีขนมอบและผลิตภัณฑ์ขนมอบ. มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลย
อลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, ปทุมธานี.
วรรณวิบูลย์ กาญจนกุญชร. 2540. ไข่และผลิตภัณฑ์, น. 230-247. ใน หน่วยที่ 12 เอกสารการ
สอนชุดวิชาผลิตภัณฑ์อาหาร. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, นนทบุรี.
วรรณคล เชื อมงคล. 2551. สารให้ความหวาน : การใช้และความปลอดภัย. ไทยเภสัชศาสตร์และ
วิทยาการสุขภาพ 3 (1): 161-168.
ศศิเกษม ทองยงค์ และ พรรณี เดชกาแหง. 2530. เคมีอาหารเบื องต้น. โอ.เอส.พริ นติ งเฮ้าส์,
กรุงเทพฯ.
ศิริลักษณ์ สินธวาลัย. 2525. ทฤษฎีอาหาร เล่ม 1 หลักการประกอบอาหาร. วรวุฒิการพิมพ์
จากัด, กรุงเทพฯ.
ศิริลักษณ์ สินธวาลัย. 2533. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางโภชนาการ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,
กรุงเทพฯ.
ศิริลักษณ์ สินธวาลัย. 2548. ทฤษฎีอาหาร เล่ม 1 หลักการประกอบอาหาร. วรวุฒิการพิมพ์,
กรุงเทพฯ.
ศรีสมร คงพันธุ์. 2534. ขนมไทย เล่ม 1. ศูนย์การพิมพ์พลชัย, กรุงเทพฯ.
ศรีสมร คงพันธุ์. 2553. อาหารคาวหวาน. พิมพ์ครั งที่ 6. บริษัท สานักพิมพ์แสงแดด จากัด,
กรุงเทพฯ.
สถาบันอาหารดวงทิพย์. 2532. อาหารว่างแบบไทย ๆ. บริษัท เจเนอรัลบุ๊คส์เซนเตอร์ จากัด,
กรุงเทพฯ.
สถาพร ถาวรอธิวาสน์. 2546. สถิติกับการวางแผนการทดลองทางเกษตร. สถาบันเทคโนโลยีพระ
จอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, กรุงเทพฯ.
สุจิตรา สินประเสริฐ. 2555. การทดแทนกากมะพร้าวด้วยกากถั่วเหลืองในขนมโสมนัส. ปัญหา
พิเศษ, มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.
สุภสร ชโยวรรณ. 2526. การบรรจุอาหารประเภทอาหารว่างและอาหารแห้ง, น. 5-11. ใน
เอกสารการประชุมสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง การใช้ภาชนะบรรจุในอุตสาหกรรมเกษตร จัดโดยศูนย์วิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารแห่งประเทศไทย. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
สุวรรณา เอื ออรรถการุณ, ปิยะดา ประเสริฐสม และ จันทนา อึ งชูศักดิ์. 2554. การศึกษาการ
จ้าหน่ายขนมในโรงเรียน. แหล่งที่มา: http://www.sweetenough.in.th/index.php?option=com_jdownloads&view=viewcategory&catid=4&Itemid=182. 22 มกราคม 2561.
สุขใจ ชูจันทร์. 2555. สารให้ความหวานพลังงานต่้า. สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
กรุงเทพฯ.
สุนทร ตรีนันทวัน. 2553. การขึ นฟูของไข่. คลังความรู้ Sci Math. แหล่งที่มา:
http://www.scimath.org/article-biology/item/498-egg. 20 มีนาคม 2561.
สานักข่าวอิศรา. 2558. คนไทยกินหวานจัดเฉลี่ยคนละ 30 กก./ปี สูงกว่าเกณฑ์องค์การอนามัย
โลก 3 เท่า. แหล่งที่มา: https://www.isranews.org/thaireform-other-news/41686-suga29.html. 5 กุมภาพันธ์ 2561.
สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. 2520. มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมน้ามัน
มะพร้าว. มอก. 203-2520.
สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. 2558. มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนเนื อมะพร้าวอบ.
มผช. 685-2558.
ยูเอฟเอ็มเบคกิ งสคูล. 2523. ต้าราท้าขนมจากแป้งสาลี เล่ม 2. โรงพิมพ์กรุงเทพ, กรุงเทพฯ.
หมอชาวบ้าน. 2551. นาตาล. แหล่งที่มา: https://www.doctor.or.th/article/detail/1147.
5 กุมภาพันธ์ 2561.
อดิศักดิ์ เอกโสวรรณ. 2544. สารให้ความหวานทดแทนนาตาลในเครื่องดื่มพลังงานต่า. วิชาการ
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 21 (2): 63-75.
อมรรัตน์ สวัสดิทัด และ วิวัธน์ ปฐมโยธิน. 2522. การเลือกใช้วัสดุให้สอดคล้องกับเวลาที่ต้องการ
เก็บผลิตภัณฑ์อาหาร. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ประยุกต์แห่งประเทศไทย, กรุงเทพฯ.
เอกพันธ์ แก้วมณีชัย. 2556. การใช้สารให้ความหวานทดแทนน้าตาลในขนมวุ้นไทย. รายงาน
การวิจัยฉบับสมบูรณ์, มหาวิทยาลัยศิลปากร.
อรวินทร์ โทรกี และ ประชา บุญญสิริกูล. 2522. อาหาร. บี.เอฟ.ไอ., กรุงเทพฯ.
AOAC. 2000. Official Methods of Analysis of AOAC International. 17th ed.,
Maryland, USA.
Alais, C. and G. Linden. 1991. Food Chemistry. Ellis Horwood, New York.
Bachman, C.M., T. Baranowski amd T.A. Nicklas. 2006. Is there an association
between sweetened beverages and adiposity. Nutr Rev 64 : 153-174.
Berkey, C.S., H.R.H. Rockett, A.E. Field, M.W. Gillman and G.A. Colditz. 2004. Sugar-
Added Beverages and Adolescent Weight Change. Obesity Research 12 (5): 778-788.
Binns, N.M. 2003. Sucralose–all sweetness and light. Brit Nutr Bull. 28 : 53–58.
Codex Alimentarius International Food Standards. 1991. Report of the 17th session
of the codex committee on nutrition and foods for special dietary uses. Available Source: http://www.codexalimentarius.org[accessed. 23 มกราคม 2561.
Dallman, M.F., N. Pecoraro, S.F. Akana, S.E. La Fleur, F. Gomez and H. Houshyar.
2003. Chronic stress and obesity: a new view of “comfort food.” Proc Natl Acad Sci USA. 100 : 11696-11701.
Dhingra, R., L. Sullivan, P.F. Jacques, T.J. Wang, C.S. Fox and J.B. Meigs. 2007. Soft
drink consumption and risk of developing cardiometabolic risk factors and the metabolic syndrome in middle-aged adults in the community. Circulation 116 : 480-488.
Fried, S.K. and S.P. Rao. 2003. Sugars, hypertriglyceridemia, and cardiovascular
disease. Am J Clin Nutr. 78 : 873S-880S.
Furia, T.E. 1972. Handbook of Food Additives. 2nd ed., CRC Press Cleveland, Ohio.
Gunstone, F.D. 1996. Fatty Acid and Lipid Chemistry. Blackie Academic &
Professional, an Imprint of Chapman & Hall, Glasgow.
Hellerstein, M.K. 2002. Carbohydrate-induced hypertriglyceridemia: modifying factors
and implications for cardiovascular risk. Curr Opin Lipidol 13 : 33-40.
Howard, B.V. and J.W. Rosett. 2002. Sugar and cardiovascular disease: a statement
for healthcare professionals from the Committee on Nutrition of the Council on Nutrition, Physical Activity, and Metabolism of the American Heart Association. Circulation 106 : 523-527.
Johnson, R.K., L.J. Appel, M. Brands, B.V. Howard, M. Lefevre and R.H. Lustig. 2009.
Dietary Sugars Intake and Cardiovascular Health. A Scientific Statement From the American Heart Association. Circulation 120 : 1011-1020.
Kelley, A.E., V.P. Bakshi, S.N. Haber, T.L. Steininger, M.J. Will and M. Zhang. 2002.
Opioid modulation of taste hedonics within the ventral striatum. Physiol Behav. 76 : 365-377.
Kowtaluk, H. and A.O. Kopan. 1977. Food for Today. Bennett and Mcknight
Publishing Co., U.S.A.
Laos, K.A., E.B. Kirs, A.C. Kikkas and T.D. Paalme. 2007. Crystallization of the
supersaturated sucrose solutions in the presence of fructose, glucose and corn syrup. Proceedings of European Congress of Chemical Engineering (ECCE-6).
Liu, S., J.E. Manson, J.E. Buring, M.J. Stampfer, W.C. Willett and P.M. Ridker. 2002.
Relation between a diet with a high glycemic load and plasma concentrations of high-sensitivity C-reactive protein in middle-aged women. Am J Clin Nutr 75 : 492- 498.
Ludwig, D.S., K.E. Petersen and S.L. Gortmaker. 2000. Relation between
consumption of sugar-sweetened drinks and childhood obesity; a prospective, observational analysis. Lancet 357 : 505-508.
Majeed, M., M.A. Mahmood, M.U. Khan, M. Fazel and M.A. Shariati. 2018. Effect of
sorbitol on dough rheology and quality of sugar replaced cookies. J Food Sci 12 (1): 50-56.
Matz. 1972. Bakery Technology and Engineering. 2nd ed., The AVI Publishing
Company Inc., Westport, Connecticut.
Mitchell, H. 2006. Sweeteners and Sugar Alternatives in Food Technology.
Blankwell Publishing Ltd, Endland.
Mushtaq, Z., S.U. Rehman, T. Zahoor, A. Jameel. 2010. Impact of Xylitol
replacement on physiological, sensory and microbial quality of cookies.
Pak J Nutr 9 (6): 605-610.
Nabor, B.O.L. and C.R. Gelardi. 1991. Alternative Sweeteners : Second Edition,
Revised and Expanded. Marcel Dekker Inc., New York.
Nguyen-Michel, S.T., J.B. Unger and D. Spruijt-Metz. 2007. Dietary correlates of
emotional eating in adolescence. Appetite. 49 : 494-499.
Onwudike, O.C. 1996. Coconut (Cocos nucifera L.) kernel, oil and meal. In
Nwokolo E. and J. Smartt (eds.). Food and Feed from Legumes and Oilseeds. Chapman & Hall, London.
Prankerd, J.R. 2004. Course: Formulation Chemistry II (VCF2071) Section two:
humectants and preservative. Victorian College of Pharmacy, Monash University.
Pourmohammadi K., M.B.H. Najafi, M. Majzoobi, A. Koocheki and A. Farahnaki. 2017.
Evaluation of dough rheology and quality of sugar free biscuits: Isomalt, Maltodextrin and Stevia. Carpath J Food Sci Tech 9 (4): 119-130.
Salminen S. and A. Hallikainen. 2002. Sweeteners, P. 447-475. In Food Additives.
Marcel Dekker, Inc., New York.
Salunkhe, D.K., J.K. Chavan, R.N. Adsule and S.S. Kadam. 1992. World Oilseeds
Chemistry Technology and Utillzation. An AVI Book Publishing by Van Nostrand Reinhold, New York.
Schiweck, H. 1994. Sugar Alcohol, Chater 1. In: Ullmann’s Encyclopedia of
Industrial Chemistry. 5th edn. A25, Elvers, B., S. Hawkins. and W. Russey. VCH Verlagsgesellschaft, Weinheim. 413-416, 432-433.
Shulze, M.B., J.A.E. Manson, D.S. Ludwig, G.A. Colditz., M.U. Stampfer, W.C. Willett and
F.B. Hu. 2004. Sugar-Sweetened Beverages, Weight Gain, and Incidence of Type 2 Diabetes in Young and Middle-Aged Women. JAMA 292 (8): 927-934.
Stadelman, W.J. and O.J. Cotterill. 1995. Egg Science and Technology. 4th ed.,
Food Products Press, an Imprint of The Haworth Press Inc., Binghamton,
New York.
Stanhope, K.L., J.M. Schwarz, N.L. Keim, S.C. Griffen, A.A. Bremer and J.L. Graham.
2009. Consuming fructose-sweetened, not glucose-sweetened, beverages increases visceral adiposity and lipids and decreases insulin sensitivity in overweight/obese humans. J Clin Invest. 119 : 1322-1334.
Troiana, R.P., R.R. Briefel, M.D. maeeoll and K. Bialostosky. 2000. Energy and fat
intakes of children and adolescents in the United States: Data fron National Health and Nutrition Examination Surveys. Am J Clin Nutr 70 : 1343S-1353S.
Woodward, M. and A.R.P. Walker. 1994. Sugar consumption and dental caries:
Evidence from 90 countries. Br Dent J 176 : 297-302.
|