- ชื่อเรื่อง : อิทธิพลของขนาดพื้นที่ใบต่อผลผลิตแตงเทศ
- title : Influence of Leaf Area on the Production of Cucumis melo
- ผู้แต่ง : นายคชาฤทธิ์ ปราบพาล
อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.พิษณุ แก้วตะพาน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ประธานหลักสูตร : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กรรณิกา อัมพุช ปีการศึกษา : 2561 - บทคัดย่อ :
การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์ทดสอบอิทธิพลของพื้นที่ใบที่มีผลต่อผลผลิตแตงเทศพันธุ์กาเลีย ณ โรงเรือนตาข่าย รัตนสุขฟาร์ม ระหว่างวันที่ 26 พฤษภาคม 2560 ถึง วันที่ 2 กันยายน 2560 โดยมีการวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) มี 3 ทรีทเมนต์ ทรีทเมนต์ละ 6 ซ้้า คือ 0.8 1.0 และ 1.2 ตารางเมตร โดยท้าการเก็บข้อมูลดังต่อไปนี้คือ น้้าหนักผล เส้นรอบผล ความกว้างผล ความยาวผล ความหนาเนื้อและ ความหวาน (ºbrix) จากการทดลองพบว่า ความหนาเนื้อมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส้าคัญยิ่งทางสถิติ (p<0.01) ส้าหรับน้้าหนักผล เส้นรอบผล ความกว้างผล ความยาวผล ความหวาน (ºbrix) ไม่แตกต่างกันทางสถิติ (p>0.05) อย่างไรก็ตามการไว้พื้นที่ใบไม่มีผลต่อผลผลิตแตงเทศ แต่มีแนวโน้มการไว้พื้นที่ใบที่ 0.8 ตารางเมตร ให้น้้าหนักผลเฉลี่ยสูงสุด 2076.90 กรัม ให้เปอร์เซ็นต์ความหนาเนื้อของแตงเทศทั้ง 4 ด้านได้แก่ ความหนาด้านบน ความหนาด้านล่าง ความหนาด้านขวา และความหนาด้านซ้าย เท่ากับ 3.13, 3.29, 4.62 และ 4.56 ตามล้าดับ และให้ความหวานเฉลี่ยสูงสุด คือ 10.33 (ºbrix)
- เอกสารอ้างอิง :
ธีรวุฒิ ลำภตระกูล. (2558). กำรใช้โปรแกรม Photoshop ในกำรหำพื้นที่ผิว/ใบจำกภำพถ่ำยดิจิตอล.สำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรวิจัย. กรุงเทพฯ.
บุญส่ง เอกพงษ์. 2558. เทคนิคกำรผลิตเมล็ดพันธุ์ผักลูกผสม Hybrid seed Production Technique in Vege table. พิมพ์ครั้งที่1. มหำวิทยำลัยอุบลรำชธำนี. อุบลรำชธำนี.
ปรีชำ กำเพ็ชร, ชยันต์ ภักดีไทย และ วินัย ศรวัต. 2554. กำรหำพื้นที่ใบจำกภำพถ่ำยดิจิตอล. แก่นเกษตร 39 ฉบับพิเศษ. ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น. ขอนแก่น
พันธุ์ทิพย์ ดำวเรือง, จิตติมำ นนขุนทด และ ธำวินี งำจันทึก . 2558. กำรทดสอบวัสดุปลูก ภำชนะปลูก ต่อกำรเจริญเติบโตและผลผลิตของเมล่อน พันธุ์ Pot Orange และพันธุ์ Emerald Sweet ในโรงเรือนตำข่ำย.ปัญหำพิเศษปริญญำตรี. สำนักวิชำเทคโนโลยีกำรเกษตร มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีสุรนำรี. นครรำชสีมำ.
สมบุญ เตธะภิญญำวัฒน์. 2548. สรีรวิทยำของพืช PLANT THYSIOLGY. พิมพ์ครั้งที่4. มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์. กรุงเทพฯ.
สุรพล มนัสเสรี. 2549. หลักกำรไม้ผล. มหำวิทยำลัยรำชภัฏสงขลำ.สงขลำ
อนุวัตร์ นิลเผือก. 2556. ผลของระดับควำมเข้มข้นของโพแทสเซียมที่มีต่อกำรเจริญเติบโตและคุณภำพของแตงเทศ.ปัญหำพิเศษปริญญำตรี. คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร มหำวิทยำลัยรำชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมรำชูปถัมภ์. ปทุมธำนี.
อภิชำต ศรีสอำด. 2558. เมล่อน แคนตำลูปเงินล้ำน. พิมพ์ครั้งที่1. นำคำอินเตอร์มีเดีย. กรุงเทพฯ.
Kapetch, P. Pakdeethai, C. and Sarawat, V. 2011.Estimation of leaf area using digital image. Khon Kaen Agr.J. 39:392-397.
Purseglove, J.W. 1974. Tropical Crops Dicotyledons. Longman Group Co. Ltd., London. 719 p.
Robinson, R.W. and D.S. Decker – Walters. 1997. Cucurbits. Cap international. New York. 226 p.
|