การศึกษาผลของความชื้นของเมล็ดพันธุ์และระยะเวลาในการเก็บรักษาที่มีผลต่อคุณภาพของเมล็ดข้าวพันธุ์กข69 (ข้าวทับทิมชุมแพ) โดยวางแผนการทดลองแบบ Factorial in CRD ท้า 3 ซ้้า ประกอบด้วย 2 ปัจจัย คือ 1.ระดับความชื้นของเมล็ดพันธุ์ข้าวที่แตกต่างกัน 3 ระดับ คือ 10, 12 และ 14 เปอร์เซ็นต์ 2.ระยะเวลาในการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ข้าว เป็นระยะเวลานาน 6 เดือน คือ 1, 2, 3, 4, 5 และ 6 เดือน โดยเก็บไว้ในถุงสูญญากาศในอุณหภูมิห้อง ในแต่ละเดือนน้ามาทดสอบเปอร์เซ็นต์ ความงอก ดัชนีในการงอกและระยะเวลาเฉลี่ยในการงอกของเมล็ดพันธุ์ ผลการทดลอง พบว่า เมล็ดข้าวพันธุ์กข69 (ข้าวทับทิมชุมแพ) ที่มีความชื้นเริ่มต้น 10, 12 และ 14 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเก็บรักษาเป็นระยะเวลานาน 6 เดือน พบว่า มีความชื้นเปลี่ยนไปเท่ากับ 11.68, 12.64 และ 14.75 เปอร์เซ็นต์ ตามล้าดับ เมื่อพิจารณาเปอร์เซ็นต์ความงอก พบว่า เมล็ดพันธุ์ที่มีความชื้นเริ่มต้น 10 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเก็บรักษาเป็นระยะเวลานาน 6 เดือน มีเปอร์เซ็นต์ความงอกเฉลี่ยสูงกว่าเมล็ดพันธุ์ที่มีความชื้นเริ่มต้น 12 และ 14 เปอร์เซ็นต์ เท่ากับ 89.44, 66.22 และ 55.05 เปอร์เซ็นต์ ตามล้าดับ ส้าหรับดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ์ พบว่า เมล็ดพันธุ์ที่มีความชื้นเริ่มต้น 10 เปอร์เซ็นต์ มีดัชนีในการงอกที่สูงกว่าเมล็ดพันธุ์ที่มีความชื้น 12 และ 14 เปอร์เซ็นต์ เท่ากับ 18.54, 14.11 และ 12.86 ตามล้าดับ เมื่อพิจารณาเวลาเฉลี่ยในการงอก พบว่า เมล็ดพันธุ์ที่มีความชื้นเริ่มต้น 10 เปอร์เซ็นต์ มีเวลาเฉลี่ยในการงอกสั้นกว่าเมล็ดพันธุ์ที่มีความชื้นเริ่มต้น 12 และ 14 เปอร์เซ็นต์ คือ 4.61, 4.98 และ 5.07 ตามล้าดับ ซึ่งจากการศึกษานี้ แสดงให้เห็นว่า ความชื้นของเมล็ดพันธุ์ที่ต่้าและระยะเวลาในการเก็บรักษามีผลต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ์ กัลยา บุญสง่า, ปิยะพันธ์ ศรีคุ้ม, สุดใจ มะติยาภักดิ์ และ นวรัตน์ วังคา. 2558. การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ในการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ข้าวแบบ Hermetic. การประชุมวิชาการข้าวและธัญพืชเมืองหนาว ครั้งที่ 32. เพชรบุรี จวงจันทร์ ดวงพัตรา. 2529. ความมีชีวิตของเมล็ดและความแข็งแรงของเมล็ด. เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. หน้า 161-168 ชลลดา สามพันพวง, กัญญาภรณ์ พิพิธแสงจันทร์, พิทยา วงษ์ช้าง, อัสนี ส่งเสริม, เสาวณี เดชะคาภู. 2559. อิทธิพลของระดับความชื้นในเมล็ดพันธุ์และอุณหภูมิการเก็บรักษาต่อการงอกของ เมล็ดพันธุ์คาฝอย.วารสารวิชาการเกษตร. สานักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ. กรมวิชาการ เกษตร. หน้า 65-75 ชูศักดิ์ จอมพุก. 2560. บทปฏิบัติการที่ 3 ข้าว (rice). ภาควิชาพืชไร่. คณะเกษตรกาแพงแสน. มหาลัยวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. วิทยาเขตกาแพงแสน. นครปฐม. พินิจ จันทร และคณะ. 2555. 100 พันธุ์ข้าวไทย อาหารสู่ครัวโลก. ปัญญาชน. กรุงเทพ. 200 หน้า พีชยา จิระธรรมกิจกุล. 2541. ผลของสภาวะการเก็บรักษาต่อคุณภาพข้าวกล้องปริญญาวิทยาศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การอาหาร ภาควิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการ อาหาร. 140 หน้า ประพาส วีรแพทย์. 2555. ความรู้เบื้องต้นเรื่องข้าว. สานักวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว. กรุงเทพ.หน้า 5-34 ประพาส วีระแพทย์. 2559. ประวัติศาสตร์ข้าวโลก. สารานุกรมไทยเล่มที่3. สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย. กรุงเทพฯ. วันชัย จันทร์ประเสริฐ. 2553. สรีรวิทยาเมล็ดพันธุ์. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ วัลลภ สันติประชา, ขวัญจิตร สันติประชา, วิชัย หวังวโรดม คุณภาพและการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ ถั่วลิสงในเขตร้อนชื้น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หน้า 68 เวียงโขง วันสะหว่าง. (2559). วารสารเกษตรพระจอมเกล้า: ผลของการเก็บรักษาข้าวเปลือก ในบรรจุภัณฑ์ อุณหภูมิ และระยะเวลาต่อคุณภาพของข้าวฮางงอก. หน้า73-85 ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวขอนแก่น. 2561. กข69 (ทับทิมชุมแพ). กองเมล็ดพันธุ์ข้าว. กรมการข้าว. ขอนแก่น. ศูนย์อัฉริยะเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย Thai Rice Exporters Association. 2559. ที่มา: http://www.thairiceexporters.or.th/Thai%20rice%20standards.htm.co.th. (28 พฤษภาคม 2561) สานักข่าวไทยรัฐทีวี. 2557. ข้าวทับทิมชุมแพ ลูกผสม สังข์หยด+หอมมะลิ ที่มา: https://www.thairath.co.th/content/461181 (28 พฤษภาคม 2561) สานักงานวิจัยและพัฒนา. กรมการข้าว. ม.ป.ป. องค์ความรู้เรื่องข้าว. ที่มา: http://www.ricethailand.go.th/web/index.php.co.th. (28 พฤษภาคม 2561) อนุรัชนี ยนปลัดยศ และ สุรพงษ์ ดารงกิตติกุล. 2556. อิทธิพลของอุณหภูมิและวัสดุที่ใช้บรรจุเมล็ด พันธุ์ในการเก็บรักษาต่อคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ปอเทือง AOSA. 2002. Seed Vigor Testing Handbook. AOSA Contribution No.32 to the Handbook on Seed Testing. Ellis, R.H. and Roberts, E.H., 1980, Improved Equation for the Prediction of Seed Longevity, Annals of Botany, 45: 13-30. ISTA. 2007. International Rules for Seed Testing. 3thed. Bassersdorf: The International SeedTesting Association. |