การทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาผลของวัสดุปลูกต่างชนิดต่อการงอกของเมล็ดโต้วเหมี่ยว 2) เพื่อศึกษาผลของวัสดุปลูกต่างชนิดต่อการเจริญเติบโตของไมโครกรีนโต้วเหมี่ยว 3) เพื่อศึกษาผลของวัสดุปลูกต่างชนิดต่อคุณภาพของผลผลิตไมโครกรีนโต้วเหมี่ยว ทำการทดลอง ณ โรงเรือนปลูกพืชเศรษฐกิจ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ระหว่างเดือนมีนาคม - มิถุนายน 2564 โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ จำนวน 4 กรรมวิธีคือ 1) ดิน+แกลบดำ อัตราส่วน 1:1 2) ดิน+ขุยมะพร้าว อัตราส่วน 1:1 3) ดิน+แกลบดำ+ขุยมะพร้าว อัตราส่วน 1:1:1 4) ดิน ทำการเพาะไมโครกรีนโต้วเหมี่ยวเป็นเวลา 10 วัน จากผลการทดลองพบว่า กรรมวิธีที่ 1 ดิน+แกลบดำ มีผลทำให้ เปอร์เซ็นต์ความงอก 54.00 เปอร์เซ็นต์ ดัชนีการงอก 45.22 น้ำหนักสดต้น 2.23 กรัมต่อต้น ความสูงต้น 10.27 เซนติเมตรต่อต้น กรรมวิธีที่ 2 ดิน+ขุยมะพร้าว มีผลทำให้ น้ำหนักสดราก 0.56 กรัมต่อต้น ความยาวราก 13.79 เซนติเมตรต่อต้น ปริมาณน้ำตาล 0.0354 องศาบริกซ์ต่อต้น และกรรมวิธีที่ 4 ดิน มีผลทำให้ ปริมาณเส้นใย 2.06 % FW ตามลำดับ กมล เลิศรัตน์ อรสา ดิสถาพร สุชีลา เตชะวงศ์เสถียร และ วีระ ภาคอุทัย 2544. ผักในประเทศไทย สถานภาพของการผลิต การตลาดและการวิจัย. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. กรมพัฒนาที่ดิน. 2564. ดิน นิยามและความหมาย. แหล่งที่มา: https://www.ldd.go.th/ofsweb/thaisoil/p2.htm. 21 มกราคม 2564 กรรณิกา บุญพาธรรม และ ดนุพล เกษไธสง. 2560. การประเมินผลผลิตและสารออกฤทธิ์ทาง ชีวภาพในผักไมโครกรีน 13 ชนิด. แก่นเกษตร 45 (พิเศษ): 368-373. กษิเดช ฉันทกุล อัญชลี ศิริโชติ และ ดุสิตา ถิระวัฒน์. 2013. ผลของระยะการเจริญเติบโตต่อ คุณภาพ ของถั่วลันเตางอก (โต้วเหมียว). วิทยาศาสตร์เกษตร 44 (3พิเศษ): 208-212. กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. 2535. ตารางแสดงคุณค่าทางโภชนาการของ อาหารไทย. แหล่งที่มา: http://nutrition.anamai.moph.go.th/images. 1 มีนาคม 2564. ครองใจ โสมรักษ์. 2562. ผลและสีฝักและวัสดุปลูกต่อการงอก และการเจริญเติบโตของต้นกล้า ครามฝักงอ. เกษตรพระวรุณ 16 (2): 375–386. เจนจิรา ชุมภูคำ สิริกาญจนา ตาแก้ว และ ณัฐพงค์ จันจุฬา. 2559. ผลของวัสดุปลูกต่อการงอกของ เมล็ดการรอดชีวิตและการเจริญเติบโตของต้นกล้ามัลเบอร์รี่พันธุ์เวียดนาม GQ2. Thai Journal of Science and Technology 5 (3): 283-295. ชาตรี บำรุงชัย อรัญญา นามปัญญา และ นิธิภัทร บุญปก. 2562. ผลของวัสดุปลูกจากใบจามจุรีต่อ การเจริญเติบโตและผลผลิตของแตงกวาญี่ปุ่นพันธุ์เพรตตี้สวอลโล 279 ภายใต้สภาพ โรงเรือน น. 386-391 ใน การประชุมทางวิชาการระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และนวัตกรรม ครั้งที่ 1 (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อชุมชน). มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. ชำนาญ เขียวอำไพ. 2548. การทำสวนผัก. อักษรสยามการพิมพ์, กรุงเทพฯ. ณัฐวรรณ พรมมา สุทินันท์ จันทร์ดา นันทา เป็งเนตร์ และ พีระศักดิ์ ฉายประสาท. 2016. คุณค่าทาง โภชนาการของ ต้นอ่อนถั่วลันเตาที่ระยะการเจริญเติบโตต่างๆ. วิทยาศาสตร์เกษตร 47 (3พิเศษ): 208-212. ทวีป เสนคำวงศ์ ฉันทนา วิชรัตน์ ปรีชา รัตนัง และ สุเทพ วัชรเวชศฤงคาร. 2560. ศึกษาผลของ วัสดุ เพาะ อัตราเมล็ดพันธุ์ และอายุการเก็บเกี่ยวที่เหมาะสมต่อการผลิตต้นกล้างอกของผักขี้หูด. พืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 4 (4): 50-54. เทคโนโลยีชาวบ้าน. 2561. โรคราแป้งในถั่วลันเตา. แหล่งที่มา: https://www.technologychaoban.com/agricultural-technology/article4599. 27 มกราคม 2564. ไทยเกษตรศาสตร์. 2013. การปลูกถั่วลันเตา. แหล่งที่มา: https://www.thaikasetsart.com/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B 8%9B%E 0%B8%A5%E0%B8%B. 17 มกราคม 2564. บ้านจอมยุทธ. 2543. ถั่วลันเตา. แหล่งที่มา: https://www.baanjomyut.com/library_2/extension-2/vegetables/26.html. 17 มกราคม 2564. ปณาลี ศรีแดงบุตร. 2557. ปริมาณคลอโรฟิลล์ วิตามินซี เส้นใยอาหาร และคาร์โบไฮเดรต ใน เมล็ดถั่วเหลืองงอก. คณะเกษตรกำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กำแพงแสน. ประยงค์ ธรรมสุภา. 2555. การศึกษาวัสดุปลูกที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของดาวเรือง. วิจัยและ พัฒนา 7 (1): 26-31. ปลูกผัก. 2561. วิธีปลูกถั่วลันเตา. แหล่งที่มา: https://www.plookphak.com/how-to-plant-sugar-pea/. 17 มกราคม 2564. พรชัย หาระโคตร ภาณุมาศ ฤทธิไชย และ สมพงษ์ ทะบันหาร. 2563. อิทธิพลของ ZnSO4 ต่อการ เจริญเติบโตและสารต้านอนุมูลอิสระในไมโครกรีนผักขี้หูด ผักชีลาว และแมงลัก. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 28 (1): 86-98. พรศักดิ์ ศรีอมรศักดิ์. 2551. เพกทิน: พอลิเมอร์ชีวภาพทางเภสัชกรรม. มหาวิทยาลัยศิลปากร นครปฐม. พืชเกษตร. 2559A. แกลบดำ. แหล่งที่มา: https://puechkaset.com/%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%9A/. 21 มกราคม 2564. _____. 2559B. ถั่วลันเตา สรรพคุณ และการปลูกถั่วลันเตา. แหล่งที่มา: https://puechkaset.com/%E0%B8%96%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%A7 %E0%B8%A5%. 17 มกราคม 2564. มนูญ ศิรินุพงศ สุจริต สวนไพโรจน วรวิทย คงเรือง และ บัณฑิตา คงพันธุ. 2551. วัสดุปลูกที่มีผลต่อ การเจริญเติบโตและผลผลิตของพริกชี้ฟ้าพันธุ์แม่ปิง 80 ในระบบการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน. วิทยาศาสตร์เกษตร 39 (3พิเศษ): 408-411. เริงชัย ชุ่มภิรมย์ สมพงษ์ คูตระกูล และ ละออตา ชุ่มภิรมย์. 2536. การปรับปรุงพันธุ์ถั่วลันเตา เพื่อให้ฝักมีคุณภาพดี, น. 171-177. ใน รายงานการประชุมทางวิชาการมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 37 (สาขาพืชและส่งเสริมนิเทศศาสตร์เกษตร). มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ วรวุฒิ เจริญศิริ. 2553. ใยอาหารกับมะเร็งลำไส้ใหญ่. บทความสุขภาพ อาหารและโภชนาการ. แหล่งที่มา: http://www.bangkokhealth.com/index.php/health/healthgene ral/food. 3 มีนาคม 2564. วันชัย จันทร์ประเสริฐ. 2538. สรีรวิทยาเมล็ดพันธุ์. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วันวิสา กันยากอง และ โสระยา ร่วมรังษี. 2555. การเจริญเติบโตและผลของวัสดุปลูกต่อการผลิต แซนเดอร์โซเนียในประเทศไทย. เกษตร 28 (3): 229-236. วิเซ็น ดวงสา สายันต์ ตันพานิช เรวัตร จินดาเจี่ย และ มนตรี แก้วดวง. 2559. ผลของวัสดุปลูกต่อ การเจริญเติบโตและผลผลิตของผักกูด. พืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 3 (พิเศษ): 30-35. วิทยาลัยการอาชีพ. 2559. โรคของถั่วลันเตา. แหล่งที่มา: https://sites.google.com/a/bicec.ac.th/sweet-pea/prayochn-khxng-thaw-lantea. 17 มกราคม 2564. สมพงศ์ สมวงค์ และ มิตรชัย จงเชี่ยวชำนาญ. 2562. การพัฒนาระบบควบคุณสภาพแวดล้อม สำหรับการเพาะผักไมโครกรีน. วิศวกรรมฟาร์มและเทคโนโลยีการควบคุมอัตโนมัติ 5 (2): 15-25. สวัสดิ์ พิมพ์สุวรรณ. 2555. ผลของวัสดุปลูกชนิดต่าง ๆ ที่มีต่อการเจริญเติบโตของกาบหอยแครง. คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. สุมิตรา สุปินราช และอิศร์ สุปินราช. 2561. ผลของวัสดุปลูกต่อการเจริญเติบโตของผักกาดหอม กระถาง. วิทยาศาสตร์เกษตร 49 (1พิเศษ): 47–52. สุมิตรา สุปินราช, รัชณีพร ศรีวันชัย, และอิศร์ สุปินราช. 2559. ผลวัสดุปลูกต่อการเจริญเติบโตและ การออกดอกของผีเสื้อ. พืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 3 (พิเศษ): 77-82. อุดมลักษณ์ มัจฉาชีพ สิริวรรณ สุขนิคม จันทร์เพ็ญ บุตรใส พาขวัญ ทองรักษ์ อรุณี ชัยศรี อัจฉรียา มณีน้อย สุรชัย มัจฉาชีพ และ สมเจตน์ เจริญศรีสัมพันธ. 2557. การศึกษาการผลิตไมโคร กรีนพืชพื้นบ้านเพื่อการค้าในสภาพโรงเรือน. คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรม เกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ. Bewley, J.D. 1997. Seed germination and dormancy. The Plant Cell (9): 1055-1066. DGTFarm. 2021. จุดเด่นไมโครกรีน. แหล่งที่มา: https://www.dgtfarm.com/productview/595. 1 มีนาคม 2564. International Seed Testing Association (ISTA). 2003. International Rules for Seed Testing. Edition 2003 International Seed Testing Association, Bassersdorf. Kasettody. 2021. ขุยมะพร้าว คืออะไร ประโยชน์และการนำไปใช้. แหล่งที่มา https://kaset.today/ขุยมะพร้าว/. 21 มกราคม 2564. Liebl, B.H., Fischer, M.H. and Van Calcar, S.C. 1990. Dietary fiber and long- term large bowel response in enterally nourished non ambulatory profoundly retarded youth. Journal of Parenteral and Enteral Nutrition 14 (4): 371-375. Muchjajib, S. and Muchjajib, U. 2012. Optimal Shading for the Production of Blanched Chinese chive in the Central Region of Thailand. pp. 163-166 In the International Symposium on Edible Alliaceae. Fukuoka, Japan. Neonics. 2021. ค่า Brix. แหล่งที่มา: https://www.neonics.co.th/sweetness/brix.html. 17 มกราคม 2564. Roberfroid, M. 1993. Dietary fiber, inulin, and oligofructose: a review comparing their physiological effects. Critical Reviews in Food Science and Nutrition 33: 103-148. Salisbury, F.B. and Ross, C.L 1992. Plant Physiology (4thed.). Wadswort, USA. Santos, J., Herrero, M., Mendiola, J. A., Oliva-Teles, M. T., Ibanez, E., Delerue-Matos, C. and Oliveira, M. B. P. P. 2014. Assessment of nutritional and metabolic profiles of pea shoots: The new ready-to-eat baby-leaf vegetable. Food Research International 58: 105-111. Senevirathne, G. I., Gama-Arachchige, N. S. and Karunaratne, A. M. 2019. Germination, harvesting stage, antioxidant activity and consumer acceptance of ten microgreens. Ceylon Journal of Science 48 (1): 91-96. Sproutpeople. 2010. The Basics of Sprouting. sprouting basics. Available source: http://www.sproutpeople.com/grow/sprouting.html. March 4, 2021. Suzuki, R.M., Kerbauy, G.B. and Zaffari, G.R. 2004. Endogenous hormonal levels and Growth of dark-incubated shoots of Catasetum fimbriatum. Journal of Plant Physiology 161(8): 929-935. Tomomatsu, H. 1994. Health Effects of Oilgosaccharides. Food Technology 48: 61-64. Treadwell, D. Hochmuth, R. Landrum, L. and Laughlin, W. 2008. Microgreens A New Specialty Crop. UNIVERSITY of FLORIDA. Available source: http://edis.Ifas. ufl. edu/hs1164. March 4, 2021. |