- ชื่อเรื่อง : การศึกษาอิทธิพลของวัสดุปลูกที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของแตงกวาญี่ปุ่นภายใต้โรงเรือนควบคุมอุณหภูมิ
- title : THE STUDY OF THE EFFECT OF GROWING MEDIA ON GROWTH OF CUCUMBER (Cucumis ativus) UNDER TEMPERATURE GREEN HOUSE
- ผู้แต่ง : นายวรินทร์ สิงห์สม
อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ณัฐพงค์ จันจุฬา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ประธานหลักสูตร : อาจารย์ ดร.ราชาวดี ยอดเศรณี ปีการศึกษา : 2562 - บทคัดย่อ :
แตงกวาญี่ปุ่น เป็นพืชที่กาลังเป็นที่นิยมบริโภค ปลูกในแถบภาคเหนือ ปลูกได้ตลอดทั้งปี แต่มีราคาสูง จึงนามาปลูกในโรงเรือนเพื่อป้องกันศัตรูพืช การปลูกพืชโดยใช้วัสดุปลูกนิยมใช้ปลูกพืชในโรงเรือน เพื่อเพิ่มผลผลิตแตงกวาญี่ปุ่นให้ประสบความสาเร็จจึงต้องคานึงถึงชนิดและคุณสมบัติของวัสดุปลูกที่เหมาะสม การทดลองครั้งนี้จึงมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของวัสดุปลูกชนิดต่างๆที่เหมาะสมสาหรับการเจริญเติบโตของแตงกวาญี่ปุ่นภายในโรงเรือน นาต้นกล้าแตงกวาญี่ปุ่นอายุ 7 วัน มาย้ายปลูกในวัสดุปลูกที่แตกต่างกัน 10 ชนิด ภายใต้โรงเรือน จานวน 5 ซ้า บันทึกข้อมูล 12 ลักษณะ พบว่า ค่าเฉลี่ยความสูงลาต้นหลังย้ายกล้า 14 วัน วัสดุปลูกที่ดีที่สุดคือ ขุยมะพร้าว:กาบมะพร้าว:แกลบเผา 2:1:1 เท่ากับ 64.67 เซนติเมตร หลังย้ายกล้า 21 วัน ขุยมะพร้าว:แกลบเผา 1:1 สูงที่สุด เท่ากับ 143.20 เซนติเมตร และหลังย้ายกล้า 28 วัน ขุยมะพร้าว:แกลบเผา 1:1 และ ขุยมะพร้าว:กาบมะพร้าว:แกลบเผา 1:1:2 สูงที่สุด เท่ากับ 223.40 เซนติเมตร จานวนใบหลังย้ายกล้า 14 วัน วัสดุปลูกที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ขุยมะพร้าว เท่ากับ 8 ใบ หลังย้ายกล้า 21 วัน ขุยมะพร้าว:แกลบเผา 1:1 ค่าเฉลี่ยสูงที่สุด 17 ใบ และหลังย้ายกล้า 28 วัน ขุยมะพร้าว:กาบมะพร้าว:แกลบเผา 1:1:2 และ ขุยมะพร้าว:กาบมะพร้าว:แกลบเผา 1:2:1 ค่าเฉลี่ยสูงที่สุด 25 ใบ หลังย้ายกล้า 21 วันเส้นผ่านศูนย์กลางลาต้น ขุยมะพร้าว มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 1.8 เซนติเมตร และหลังย้ายกล้า 28 วัน แกลบเผา ค่าเฉลี่ยสูงสุด 2.15 เซนติเมตร จานวนและความยาวแขนง ใบแขนง น้าหนัก ความกว้างและปริมาตรผล ความหนาเนื้อ ความหนาเปลือก และความหวานเฉลี่ย ไม่แตกต่างกันทางสถิติ วัสดุปลูกที่เหมาะสมในการศึกษาครั้งนี้คือ ขุยมะพร้าวและแกลบเผา
- เอกสารอ้างอิง :
กนกพร บุญญะอติชาติ, นาตยา มนตรี, นัฐกร ดอนกันหา และรัตนาภรณ์ สุดมี. 2555. ปัจจัยการ
ปลูกต่อการติดผล และรูปทรงผลของแตงกวาญี่ปุ่น (Cucumis sativus L.) ในระบบการปลูก
พืชไร้ดิน. วารสารมหาวิทยาลัยทักษิณ 15(3): 201-215.
กมล เลิศรัตน์. 2532. เทคนิคการผสมพันธุ์ผัก. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ขอนแก่น, ขอนแก่น.
กมล เลิศรัตน์. 2536. การผลิตเมล็ดพันธุ์แตงกวา, น. 189-213. ใน ผลิตเมล็ดพันธุ์ผัก. กรมวิชาการ
เกษตร กองขยายพันธุ์พืช, กรุงเทพฯ
กรมการค้าภายใน. 2531. รายงานการศึกษาเรื่องแตงกวา. 65 น.
ชัยฤกษ์ สงวนทรัพยากร. 2529. Soilless Culture:การปลูกพืชในนายา. วารสารพืชสวน 20(3):
10-14.
ชูชาติ สันธทรัพย์. มมป. เทคโนโลยีการผลิตพืชในโรงเรือน. คณะเกษตรศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.
ธีรเมท สุคนธเสน. 2555. การเจริญเติบโตและผลผลิตของแตงกวาญี่ปุ่นในวัสดุเม็ดดินเผาขนาด
อนุภาคต่างกันและด้วยสารละลายธาตุอาหารที่ใช้แล้ว. ปัญหาพิเศษปริญญาตรี,
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
นิพนธ์ ไชยมงคล. มปพ. แตงกวา. ฐานข้อมูลพืชผัก บทความเกษตร. แหล่งที่มา: https://veget
web.com/wp-content/download/Cucumber.pdf. 21 เมษายน 2561
เบญจมาศ คงกล้า. 2560. การศึกษาวัสดุปลูกที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของเมล่อนสายพันธุ์กรีน
เน็ทในโรงเรือนที่มีอุณหภูมิสูง. ปัญหาพิเศษปริญญาตรี, มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.
ประภาพรรณ กระจ่างลิขิต. 2557. การศึกษาอิทธิพลของวัสดุปลูกและระดับความเข้มข้นของธาตุ
ไนโตรเจนและโพแทสเซียมต่อการเจริญเติบโตของแพงพวยเลื้อย. ปัญหาพิเศษปริญญาตรี,
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
พิสมัย จุฑะมงคล. 2534. ผลของเครื่องปลูก ชนิด อัตราและวิธีการให้ปุ๋ยที่ต่อการเจริญเติบโตและ
ผลผลิตแตงกวาในระบบปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์.
มนูญ ศิรินุพงศ์, สุจริต ส่วนไพโรจน์, วรวิทย์ คงเรือง และบัณฑิตา คงพันธุ์. 2551. วัสดุปลูกที่มีผล
ต่อการเจริญเติบโตและผลผลิต ของพริกพันธุ์แม่ปิง 80 ในระบบปลูกพืชไม่ใช้ดิน. วารสาร
วิทยาศาสตร์การเกษตร 39(3): 408-411.
เมธาวี เจียมจิตร. 2551. การพัฒนาขุยมะพร้าวเป็นวัสดุปลูกแคนตาลูป. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท,
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
เมธิน ศิริวงศ์. 2536. อิทธิพลของวัสดุปลูก ภาชนะปลูก และปุ๋ยต่อการเจริญเติบโตและผลผลิต
ของมะเขือเทศพันธุ์สีดา มก. ในระบบการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท,
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ราเชนทร์ วิสุทธิแพทย์, สยาม สินสวัสดิ์, ศิริธรรม สิงห์โต และประธาน โพธิสวัสดิ์. 2548. เทคโนโลยี
การปลูกพืชไร้ดิน(Soilless Culture). สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศ
ไทย, กรุงเทพฯ.
วิทยา สุริยภณานนท์. 2524. ดินผสมพืชสวน. ข่าวเกษตรศาสตร์ 26(4): 12-23.
สันต์ ไกยนาม. 2551. ไม้ดอกไม้กระถาง. สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ.
สุธาทิพ ภมรประวัติ. มปพ. แตงกวา. แตงกวา. แหล่งที่มา: http://medthai.com/แตงกวา/.
21 เมษายน 2561.
อภิรักษ์ หลักชัยกุล. 2540. การศึกษาเปรียบเทียบวัสดุเพื่อใช้เป็นวัสดุปลูกแบบไม่ใช้ดินใน
ผักกาดหอม. ปัญหาพิเศษปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อิทธิสุนทร นันทกิจ. 2555. การปลูกพืชในวัสดุปลูก. ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเทคโนโลยีการเกษตร
สถาบันเทคโนโลยีพระจอม เกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, กรุงเทพฯ.
Lorentz, O.A. and D.N. Maynard. 1998. Knott’s Handbook for vegetable Growers.
John Wiley and Sons. Inc, USA.
Schnizler, W.H. and Gruda. 2003. Quality Issues of Greenhouse Production. Acta
Horticulturae 614: 663-674.
Whitaker, T.W. and G.N. Davis. 1962. Cucurbits Botany, Cultivation and Utilization.
Leonard Hill Books Limited, London.
Yahya A., A.S. Shaharom, R.B. Mohamad and A. Selamat. 2009. Chemical and Physical
Characteristic of Cocopeat-Based Media Mixtures and Their Effect on the
Growth and Development of Celosia. Agricultural and Biological Sciences 4(1)
: 63-71.
Yu, J.Q. and M.Yoshihisa. 1994. Phytotoxic substancrs in root exudates of cucumber
(Cucumis sativus L.). Journal of Chemical Ecology 20(1): 21-31.
|