- ชื่อเรื่อง : การลดเปอร์เซ็นต์การตายของต้นกล้ามะเขือเทศพันธุ์เชอรี่แดงจากโรครากเน่าด้วยสารชีวภัณฑ์
- title : REDUCTION OF DEATH PERCENTAGE OF RED CHERRY TOMATO SEEDLING FROM ROOT ROT DISEASE BY MICROBIAL FUNGICIDES
- ผู้แต่ง : นางสาวนันทวรรณ ตาริชัย
อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมาพร เรืองสังข์ หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ประธานหลักสูตร : อาจารย์ ดร.ราชาวดี ยอดเศรณี ปีการศึกษา : 2562 - บทคัดย่อ :
การทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อลดเปอร์เซ็นต์การตายของต้นกล้ามะเขือเทศพันธุ์เชอรี่แดงจากโรครากเน่า ด้วยสารชีวภัณฑ์ที่ผลิตโดยสถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ โดยการเพาะต้นกล้าบนวัสดุปลูก ปุ๋ยหมัก ขุยมะพร้าว พีทมอส อัตราส่วน 1:1:1 เป็นเวลา 5 สัปดาห์ ทาการออกแบบการทดลองแบบ CRD มี 5 กรรมวิธี 3 ซ้า ได้แก่ กรรมวิธีที่ 1 ไม่ฉีดพ่นสารเคมีและสารชีวภัณฑ์ กรรมวิธีที่ 2-5 รองก้นหลุมด้วยพีพีสเตร็บโต และฉีดพ่นสารชีวภัณฑ์ ผลการทดลองพบว่า กรรมวิธีที่ 2 รองก้นหลุมด้วย พีพี สเตร็บโต และฉีดพ่นสารชีวภัณฑ์ในสัปดาห์ที่ 2-4 ได้แก่ พีพีบี10 พีพี ไตรโคเดอร์มา พีพีบีเค33 ตามลาดับ และกรรมวิธีที่ 4 รองก้นหลุมด้วยพีพีสเตร็บโต และ ฉีดพ่นพีพีไตรโคเดอร์มาในสัปดาห์ที่ 4 เป็นกรรมวิธีที่มีเปอร์เซ็นต์การตายน้อยกว่ากรรมวิธีอื่นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ คือ 0.32% และ 0.64 % ตามลาดับ ส่วนกรรมวิธีที่พบเปอร์เซ็นต์การตายมากที่สุดคือกรรมวิธีที่ 1 (7.37%)
- เอกสารอ้างอิง :
กรมส่งเสริมการเกษตร. 2560. ปริมำณและมูลค่ำกำรส่งออกมะเขือเทศสดหรือแช่เย็น. แหล่งที่มำ :
http://www.agriinfo.doae.go.th/5year/export/55-59/veget/tomato.pdf.
1 มิถุนายน 2562
กรุง สีตะธนี. 2537. กำรปลูกมะเขือเทศ. ขาวงานวิจัยและเทคโนโลยีฝายประยุกต์. งานวิจัย
สถาบันวิจัยและพัฒนาแหงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร: 1-6.
กฤติยา ไชยนอก. 2558. มะเขือเทศกับไลโคพีน. คณะเภสัชศำสตร์.มหำวิทยำลัยมหิดล. แหล่งที่มา :
https://www.pharmacy.mahidol.ac.th/th/knowledge/article/275, 1 มิถุนายน 2562.
กุศล เอี่อมทรัพย์, เสียงทอง นุตาลัย, วรวิทย์ ยีสวัสดิ์, พีรชาติ เรืองประดิษฐิ์, อานันท์ ธิใจเงิน และ
จันทร์แรม คาหนู. 2547. การคัดเลือกพันธุ์มะเขือเทศพันธุ์เนื้อและทดสอบลูกผสม (รุ่นที่ 4, 5,
6, 7). น. 32-40. ใน รำยงำนกำรประชุมวิชำกำรผลงำนวิจัยของมูลนิธิโครงกำรหลวง
ประจำปี 2547. 18 พฤศจิกายน 2547 โรงแรมอมิตี้ กรีนฮิลล์ เชียงใหม่.
เกียรติเกษตร กาญจนพิสุทธิ์. 2541. มะเขือเทศ. ครั้งที่พิมพ์ 4. สานักพิมพ์ฐานเกษตรกรรม,
กรุงเทพฯ. น. 7-25.
จานุลักษณ์ ขนบดี. 2541. กำรผลิตเมล็ดพันธุ์ผัก. พิมพ์ครั้งที่2. โอเดียนสโตร์. กรุงเทพฯ. 183 น.
ไฉน ยอดเพชร. 2529. พืชผักอุตสำหกรม. ครั้งที่พิมพ์ 2. สานักพิมพ์รั้วเขียว. กรุงเทพฯ.
ณรงค์ บุญมี. 2543. กำรศึกษำลักษณะกำรเจริญของมะเขือเทศและโรคแมลง. ปริญญาตรี.
มหาวิทยาลัยแม่โจ้. 38 น.
ไทยบ้าน. 2018. รวยเพรำะมะเขือ ปลูกมะเขือเทศเชอรี่ในโรงเรือน สร้ำงรำยได้หลักแสน.
แหล่งที่มา : https://taibann.com/2018/04/30/821/, 13 ธันวาคม 2561.
ไทยแลนด์ เทรดิ้ง รีพอร์ต. 2559. ซอสมะเขือเทศและมะเขือเทศแปรรูป. ตลำดกำรส่งออก15อันดับ
แรกของไทยรำยประเทศ. แหล่งที่มา : http://www.ops3.moc.go.th. 8 สิงหาคม 2562
ไทยอาชีพ. 2017. มะเขือเทศรำชินี รสชำติดี และมีคุณประโยชน์สูง. แหล่งที่มา :
https://www.thaiarcheep.com, 13 ธันวาคม 2561.
พัฒนา นรมาศ. 2542. กำรปลูกมะเขือเทศ. แหล่งที่มา: http://www.ku.ac.th/agri/tomato,
23 มิถุนายน 2562
พิมพ์ใจ สิทธิสุรศักดิ์. 2541. สำรพันปัญหำเกษตร: หมอเกษตร – ทองกวำว เยียวยำรักษำไข้.
มติชน. กรุงเทพฯ. 104 น.
ภาวิณี เทพเขมราม. 2557. มะเขือเทศผลไม้ของทุกเพศทุกวัย. สำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำร
เสริมสร้ำงสุขภำพ. แหล่งที่มา: https://www.thaihealth.or.th/Content/26492,
15 กรกฏาคม 2562
มณีฉัตร นิกรพันธุ์. 2538. มะเขือเทศ. โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์. กรุงเทพฯ. 98 น.
มูลนิธิโครงการหลวง. 2561. กำรป้องกันกำจัดศัตรูพืชในมูลนิธิโครงกำรหลวงปี พ.ศ.2560.
พิมพ์ครั้งที่ 2. ศูนย์อารักขาพืช มูลนิธิโครงการหลวง. เชียงใหม่.
เมืองทอง ทวนทวี และ สุรีรัตน์ ปัญญาโตนะ. 2532. สวนผัก. พิมพ์ครั้งที่ 2. โรงพิมพ์ทั่งฮั่วชิน.
กรุงเทพฯ. 456 น.
รักบ้านเกิด. 2557. การให้ปุ๋ย. กำรใส่ปุ๋ยมะเขือเทศให้เหมำะสมต่อสภำพดิน. แหล่งที่มา:
http://rakbankerd.com/agriculture/page.php?id=7742&s=tblplant, 30 ตุลาคม 2561 วณิชกานต์ นเรวุฒิกุล. 2561. สูตรชีวภัณฑของเชื้อแบคทีเรียปฏิปกษเพื่อควบคุมโรคทำงดินของ
มะเขือเทศ. ปริญญาตรี. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
วิทย์ เที่ยงบูรณธรรม. 2539. “lycopene”. A New English–Thai Dictionary.
รวมสาส์น (1977). กรุงเทพฯ. น. 971.
เวธกา หมื่นมโน. 2561. กำรทดสอบกำรใช้สำรชีวภัณฑ์เพื่อลดเปอร์เซ็นต์กำรตำยในต้นกล้ำ
พริกหวำนเขียว. ปริญญาตรี. มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
ศศิธร วุฒิวณิชยโรคของผักและกำรควบคุมโรค. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ.
182 น.
สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์. 2561. ควำมเป็นมำของสถำนีเกษตรหลวงอินทนนท์. แหล่งที่มา:
http://www.inthanonroyalprojectthailand.com/About_us/Story, 30 ตุลาคม 2561.
สถิตย์ วิมล. 2546. กำรผลิตมะเขือเทศเพื่อกำรค้ำ. ภาควิชาพืชสวน คณะผลิตกรรมการ
เกษตร. สถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้. เชียงใหม่. 153 น.
สายทอง แก้วฉาย. 2555. กำรใช้ไตรโคเดอร์มำ ในกำรควบคุมโรคพืช. ปริญญาตรี.
มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์.
สุดารัตน์ นุชวงษ์. 2556. กำรทำให้บริสุทธิ์ของโปรตีนจำก Bacillus subtilis N3 ที่มีฤทธิ์ต้ำนรำ
ก่อโรคพืช Bipolaris sp. คณะวิทยาศาสตร์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ออลล์เกษตร. 2562. โรคที่สาคัญในมะเขือเทศ. โรคในมะเขือเทศ. แหล่งที่มา:
https://www.allkaset.com/contents/โรคในมะเขือเทศ-91.php, 15 กรกฎาคม 2562
อัศศิริ กลางสวัสดิ์. 2556. วิธีกำรใช้ Streptomyces-PR87 ในกำรส่งเสริมกำรเจริญเติบโตของ มะเขือเทศ. คณะเกษตรศาสตร์. ปริญญาโท. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
อารมณ์ เทศแก้ว. 2537. กำรปรับปรุงพันธ์มะเขือเทศ. สถานการณ์การผลิตและการตลาดของ
มะเขือเทศในรายงานการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่องการปรับปรุงพันธ์มะเขือเทศ ครั้งที่ 24.
มหาวิทยาลัยขอนแก่น. กรุงเทพฯ.
เอมอร ชัยประทีป. 2551. ผลของมะเขือเทศที่อุดมไปด้วยไลโคพีนในโรคต่อมลูกหมำกโตและ
มะเร็งต่อมลูกหมำก. นิพนธ์ปริทัศน์. วิทยาลัยการแพทย์แผนไทย. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช
มงคลธัญบุรี. จังหวัดปทุมธานี.
แอ็กโก. 2018. ลักษณะโรคใบไหม้ในมะเขือเทศ. โรคใบไหม้มะเขือเทศ(Late blight). แหล่งที่มา:
http://thaitechno.net/t1/knowledge_detail.php?id=3062&uid=39045,
15 กรกฎาคม 2562
Demir, I. and Samit, Y. 2001. Seed quality in relation to fruit maturation and seed
dry weight during development in tomato. Seed Science and Technology 2:
453-462.
Driffield, A.D. 1998. Studies in Solanum and related genera . New infrageneric taxa For
the genus Solanum L. (Solanaceae). Feddes Reportiorium 109 (5-6): 407-427
Giovannucci, E. 1999. Tomato products, lycopene and prostate cancer:
A review of the epidemiological literature. The Journal of Nutrition 8:
203–203.
Hubbell, J.N., Willium, R.D., Lin, S.M., Roan, Y.c. and Has, H.A. 1979. Effect of
excessive water, cultivar, compost, and benzyl adenine (BA) and performance of
tomato production on two soil types. In:1st Intemational Symposium on
Tropical Tomato (1): 154-166.
Hunziker, A, T. 2000. Miscellaneous novelties in the taxonomy of
Solanaceae. Kurtziana (Córdoba): 55-64.
Inden, T. 1956. Effects of oxygen pressure in the soil atmostphere on the growth and
uptake of nutrients in tomato, cucumbers, and eggplants. The Japanese Society
for Horticultural Science. 2: 85-93.
Piringer, A. A. and Heinze, P. H. 1954. Effect of light on the formation of a pigment in
the tomato fruit cuticle. Plant Physiology 29 (5): 467-472.
Purdie, R. and Haegi, L. 1982. Flora of Australia Vol. 29 Solanaceae.
Australian Government Publishing Service. Canberra. Australia. 208 p.
Ranirez-Rosales, G., Bennett, M., McDonald, M. and Francis, D. 2004. Effect of fruit
development on the germination and vigor of high lycopene tomato
(Lycopersicon esculentum Mill) seed. Seed Science and Technology 32(3):
775-783.
Ruizc, R.M., Ballesteros, R. and Ciruelos, A. 2013. Color and lycopene content of
several commercial tomato varieties at different harvesting dates.
ISHS Acta Horticulturae 542: 243-247.
United States Department of Agriculture. 2018. Basic report: 11591, watercress, raw.
National Nutrient Database for Standard Reference Legacy Release.
Available Source: https://ndb.nal.usda.gov/ndb/foods/show/3259.htm,
July 23, 2019
Vincent, E. R. and Yamaguchi, M. 1996. World Vegetables. 2nded. International
Thomson. New York: 834 p.
|