การเปรียบเทียบคุณภาพซากและคุณภาพเนื้อของไก่พื้นเมืองสายพันธุ์การค้าและไก่พื้นเมืองสายพันธุ์ตองหนึ่ง ทำการทดลองในไก่เพศผู้ จำนวน 20 ตัว สายพันธุ์ละ 10 ตัว โดยวางแผนการทดลองแบบ T-test for Independent Sample ( T-test ) แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ไก่พื้นเมืองสายพันธุ์การค้า และกลุ่มที่ 2 ไก่พื้นเมืองสายพันธุ์ตองหนึ่ง ผลการศึกษา พบว่า ค่าเฉลี่ยน้ำหนักรวม เปอร์เซ็นต์อก ปีกรวม และสะโพก ของไก่พันธุ์พื้นเมืองทางการค้าและพันธุ์ตองหนึ่งมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P≤0.05) ส่วนเปอร์เซ็นต์น่อง เท้า ซี่โครง ไขมันในช่องท้อง ไม่แตกต่างกันทางสถิติ ผลของคุณภาพสี พบว่า ค่าสี L* ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) แต่ค่าสี a* และค่า b* แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในส่วนของคุณภาพเนื้อ พบว่า เปอร์เซ็นต์การสูญเสียน้ำจากการแช่เย็น การสูญเสียน้ำจากการแช่แข็ง ค่าแรงตัดผ่านชิ้นเนื้อ มีค่าไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ขณะที่พันธุ์ตองหนึ่งมีแนวโน้มการสูญเสียน้ำจากการต้มสุกมากกว่าพันธุ์พื้นเมืองทางการค้า ดังนั้นจากผลการทดลองชี้ให้เห็นว่า ไก่พื้นเมืองพันธุ์ตองหนึ่งมีคุณภาพซากชิ้นส่วนสำคัญภายในดีกว่าพันธุ์พื้นเมืองทางการค้าถึงแม้ว่าจะมีน้ำหนัก จินตนา อุปดิสสกุล. 2540. หลักการและความสำคัญวัดของการวิเคราะห์ลักษณะเนื้อสัมผัส. คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. ไชยวรรณ วัฒนจันทร์, อาภรณ์ ส่งแสง, สุธา วัฒนสิทธิ์, พิทยา อดุลยธรรม และ เสาวคนธ์ วัฒจันทร์. 2547. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ : คุณภาพซากองค์ประกอบทางเคมี ลักษณะทางกายภาพ ลักษณะเนื้อสัมผัสของไก่คอล่อน และไก่พื้นเมือง. เสนอ สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.). ทัศน์วรรณ สมจันทร์, ขนิษฐา เรืองวิทยานุสรณ์, ดวงนภา พรมเกตุ และ ทรงศักดิ์ จำปาวะดี. 2557. คุณภาพเนื้อไก่ลูกผสมพื้นเมือง (ชี). อ้างถึง สัญชัย จตุรสิทธา, ศุภฤกษ์ สายทอง, อังคณา ผ่องแผ้ว, ทัศนีย์ อภิชาติสรางกรู และ อำนวย เลี้ยวธารากุล. 2546. คุณภาพซากและเนื้อของไก่พื้นเมืองและสายพันธุ์ลูกผสมสี่สายพันธุ์รายงานการวิจัยชุด “การพัฒนาไก่พื้นเมือง”. 2546. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. ธนาเดช ศิรกุลวัฒน์. 2560. อิทธิพลของอายุต่อคุณภาพซากและคุณภาพเนื้อของไก่กระทง. ปัญหาพิเศษ. มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. อ้างถึง สัญชัย จตุรสิทธา. 2543. เทคโนโลยีเนื้อสัตว์. โรงพิมพ์ธนบรรณการพิมพ์. เชียงใหม่. ________________. 2560. อิทธิพลของอายุต่อคุณภาพซากและคุณภาพเนื้อของไก่กระทง. ปัญหาพิเศษ. มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. อ้างถึง จุฑารัตน์ ศรีพรหมมา. 2528. การจัดการเนื้อสัตว์. ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์, คณะเทคโนโลยีการเกษตร, กรุงเทพมหานคร : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหาร. นริศรา สวยรูป, บัญญัติ เหล่าไพบูลย์, วุฒิไกร บุญคุ้ม และ มนต์ชัย ดวงจินดา. 2555. สมรรถนะ การเจริญเติบโตของไก่พื้นเมืองพันธุ์ประดู่หางดำและชีที่เลี้ยงด้วยอาหารไก่เนื้อและอาหารไก่ไข่. อ้างถึง รัตนา โชติสังกาศ, สุภาพร อิสริโยดม และ นิรัตน์ กองรัตนานันท์. 2537.การศึกษาเปรียบเทียบลักษณะการให้ไข่และส่วนประกอบฟองไข่ของไก่พื้นเมืองและไก่ไข่ลูกผสมทางการค้าเกษตรศาสตร์. วารสารวิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขาวิทยาศาสตร์ 28(1): 38-48. ภัทรวรรณ กีฬา, ผกาแก้ว ทาระเกต และ สจี กัณหาเรียง. 2561. การเปรียบเทียบลักษณะซากและ คุณภาพเนื้อไก่ลูกผสมพื้นเมือง พ่อพันธุ์ประดู่หางดำ มข.55 x แม่พันธุ์จีนดำ และ พ่อพันธุ์จีนดำ x แม่พันธุ์ประดู่หางดำ มข.55. อ้างถึง วิศาล อดทน, วรวิทย์ วณิชาภิชาติ, สุธา วัฒนสิทธิ์ และศยาม ขุนชำนาญ. 2545. ผลของระดับโปรตีนในอาหาร ต่อ สมรรถนะการเจริญเติบโตของไก่พื้นเมือง ไก่ลูกผสมพื้น เมือง 50% และ 75%. น. 79-90. ใน ประชุมวิชาการ สัตวบาล/สัตวศาสตร์/สัตวแพทย์ ครั้งที่ 3. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. สมควร ดีรัศมี. 2542. การเลี้ยงไก่พื้นเมือง การเลี้ยงไก่ลูกผสมพื้นเมือง. กรุงเทพ ฯ : เลิฟแอนด์ลิพ เพรส. สมบัติ ปิยะพันธุ์. 2556. สมาคมธุกิจเวชภัณฑ์สัตว์. แหล่งที่มา: http://www.thaiahpa.com, 4 กรกฎาคม 2561. สุนทรี สมแสง. 2550. การเปรียบเทียบการเปลี่ยนสีของลิ้นจี่(พันธุ์กวางเจา)ที่ถนอมด้วยความ ดันสูงยิ่งและความร้อน. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัย เชียงใหม่, เชียงใหม่. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. 2555. ศูนย์เครือข่ายวิจัยและพัฒนาด้านการปรับปรุงพันธุ์ สัตว์(ไก่พื้นเมือง). แหล่งที่มา: https://www.trf.or.th, 17 ธันวาคม 2561. |