- ชื่อเรื่อง : ผลของ KN และ NAA ต่อการเจริญเติบโตของต้นโฮย่าจักรพรรดิในสภาพปลอดเชื้อ
- title : EFFECTS OF KA AND NAA ON HOYA IMPERIALIS LINDI. GROWTH IN ASEPTIC CONDITION
- ผู้แต่ง : นางสาวชลธิชา ชุ่มมงคล
อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ประธานหลักสูตร : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา ปีการศึกษา : 2564 - บทคัดย่อ :
การศึกษาผลของ KN และ NAA เพื่อให้ได้ระดับความเข้มข้นสารควบคุมการเจริญเติบโต ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของโฮย่าจักรพรรดิในสภาพปลอดเชื้อ วางแผนการทดลองแบบCompletely Randomized Design (CRD) โดยนาส่วนข้อมาเพาะเลี้ยงบนสูตรอาหาร MS ที่เติม KN ระดับความเข้มข้น 0, 0.5, 1.0, 1.5 และ 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ภายใต้ความเข้มแสง 1,000 ลักซ์ อุณหภูมิ 26 ± 2 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 12 สัปดาห์ พบว่า อาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่ไม่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโต KN ส่งเสริมการเจริญเติบโตทางด้านจานวนใบ จานวนราก จานวนกอ และอัตราการรอดชีวิตดีที่สุด แต่ในทางตรงข้ามอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติม KN ความเข้มข้น 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ส่งเสริมการเพิ่มปริมาณทางด้านความสูง และจานวนยอดดีที่สุด สาหรับการชักนารากโดยใช้ยอดของโฮย่าจักรพรรดิมาเพาะเลี้ยงบนสูตรอาหาร MS ที่เติม NAA ที่ระดับความเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1.00 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ พบว่า อาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่ไม่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโต NAA ส่งเสริมการเจริญเติบโตทางด้านจานวนราก และความยาวรากดีที่สุด อาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติม NAA ความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ส่งเสริมการเพิ่มปริมาณทางด้านความสูงดีที่สุด
- เอกสารอ้างอิง :
เกศินี ศรีปฐมกุล, อารยา อาจเจริญ เทียนหอม และทัศไนย จารุวัฒนพันธ์. 2563. การขยายพันธุ์หญ้าพันธุ์เกลียว (Ceropegia thailandica Meve) พืชใกล้สูญพันธุ์อย่างยิ่งในประเทศไทย. Thai Journal of Science and Technology 9 (1): 77-89.
เจิมอรุณ อุทัยแจ่มศรีผล, เยาวพา จิระเกียรติกุล และภาณุมาศ ฤทธิไชย. 2562. ผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตต่อการเพิ่มจ้านวนยอดและการชักน้าให้เกิดรากของกระเพราแดงในสภาพปลอดเชื้อ. วำรสำรวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี 27 (4): 630-638.
บ้านและสวน. 2540. โฮย่า. เรื่องน่ำรู้ไม้ประดับ. แหล่งที่มา: http://www.ptcn.ac.th/student, 3 มีนาคม 2564.
นพดล จรัสสัมฤทธิ์. 2537. ฮอร์โมนพืชและสำรควบคุมกำรเจริญเติบโตของพืช. โรงพิมพ์สหมิตร ออฟเซท, กรุงเทพฯ. 124 น.
นงนุช เลาหะวิสุทธิ์, อัจฉรี เรืองเดช และสมชาย หวังวิบูลย์กิจ. 2560. ผลของ KN และ IAA ต่อการเจริญเติบโตและการต้านอนุมูลอิสระจากพรรณไม้น้้าพรมมิ. วำรสำรพระจอมเกล้ำ 35 (2): 76-83.
นงนุช เลาหะวิสุทธิ์, อัจฉรี เรืองเดช, สมเกียรติ สีสนอง และสมชาย หวังวิบูลย์กิจ. 2560. ผลของสารฟอกฆ่าเชื้อและสารควบคุมการเจริญเติบโตในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพรรณไม้น้้าบูเซป Bucephalandra sp. วำรสำรพระจอมเกล้ำ 35 (2): 95-103.
พลังเกษตร. 2563. ไม้ดอกไม้ประดับ. โฮย่ำพันธุ์กลิ่นหอมทั้งวันทั้งคืนมำแรงทั้งตลำดใน และต่ำงประเทศ. https://www.palangkaset.com, 3 มีนาคม 2564.
พันธิตรา กมล, อุรัสยาน์ บูลย์ประมุข และอนุพันธ์กงบังเกิด. 2555. ผลของไซโตไคนิน และออกซินต่อการพัฒนาของเนื้อเยื่อเพาะเลี้ยงขมิ้นขาว. วำรสำรพฤกษศำสตร์ ไทย 4 (ฉบับพิเศษ): 87-92.
ยงศักดิ์ ขจรผดุงกิตติ และอัญชลี จาละ. 2557. อิทธิพล ของ BA และ NAA ที่มีต่อการเพิ่มจ้านวนยอดต้นพรมมิโดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ. วำรสำรวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี 3 (1): 7-14.
เยาวพา จิระเกียรติกุล, ภาณุมาศ ฤทธิไชย, สุวิมล ปัจจัยคา และกนกวรรณ ส่งเสริม. 2561. การขยายพันธุ์รางจืด (Thunbergia laurifolia Lindl.) ด้วยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ. วำรสำรพืชศำสตร์สงขลำนครินทร์ 5 (2): 18-24.
วิชาการเกษตร. 2556. โฮย่าจักรพรรดิ. ดอกโฮย่ำกับวิธีกำรปลูก. แหล่งที่มา: http://www.vichakaset.com, 23 กุมภาพันธ์ 2562.
สมัชชา นาคสมบัติ. 2543. กำรขยำยพันธุ์นมตำเลีย (Hoya spp.) และกำรปรับปรุงพันธุ์โดยกำรปลูกถ่ำยยีนด้วย Agrobacterium tumefaciens. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
แสงสุรีย์ชาญ เดชวงศา. 2558. ศึกษำผลของสำรควบคุมกำรเจริญเติบโตที่มีต่อกำรชักนำให้เกิดยอดและรำกจำกชิ้นส่วนต่ำง ๆ ของลำนไพลิน. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา.
|