การศึกษาผลของวัสดุปลูกต่างชนิดต่อการเจริญเติบโตของไมโครกรีนเบบี้คะน้า มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาผลของวัสดุปลูกต่างชนิดต่อการงอกของเมล็ดเบบี้คะน้า 2) เพื่อศึกษาผลของวัสดุปลูกต่างชนิดต่อการเจริญเติบโตของไมโครกรีนเบบี้คะน้า 3) เพื่อศึกษาผลของวัสดุปลูกต่างชนิดต่อคุณภาพของผลผลิตของ ไมโครกรีนเบบี้คะน้า ทำการทดลอง ณ โรงเรือนปลูกพืชเศรษฐกิจ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ระหว่างเดือนมีนาคม - มิถุนายน 2564 โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ จำนวน 4 กรรมวิธีคือ 1) ดิน 2) ดิน+ขุยมะพร้าว อัตราส่วน 1:1 3) ดิน+แกลบดำ อัตราส่วน 1:1 4) ดิน+ขุยมะพร้าว+แกลบดำ อัตราส่วน 1:1:1 ทำการเพาะไมโครกรีนเบบี้คะน้าเป็นระยะเวลา 10 วัน ผลการทดลอง พบว่า กรรมวิธีที่ 2 วัสดุปลูกที่มีส่วนผสมของดิน+ขุยมะพร้าว ทำให้ไมโครกรีนเบบี้คะน้ามีการเจริญเติบโตมากกว่าทั้ง 3 กรรมวิธี ได้แก่ เปอร์เซ็นต์ความงอก เท่ากับ 60.23 % ดัชนีการงอก เท่ากับ 24.10 ความยาวราก เท่ากับ 3.9 เซนติเมตรต่อต้น น้ำหนักสดราก เท่ากับ 0.0145 กรัมต่อต้น ปริมาณน้ำตาล เท่ากับ 0.054 องศาบริกซ์ต่อต้น และ พบว่า กรรมวิธีที่ 3 วัสดุปลูกที่มีส่วนผสมของดิน+แกลบดำ ทำให้ไมโครกรีนเบบี้คะน้ามีน้ำหนักสดต้นดีที่สุด เท่ากับ 0.1425 กรัมต่อต้น และ กรรมวิธีที่ 1 วัสดุปลูกดิน ทำให้ไมโครกรีนมีการเจริญเติบโตทางด้านความสูงต้นมากที่สุด เท่ากับ 7.1 เซนติเมตรต่อต้น และ พบว่ากรรมวิธีที่ 4 วัสดุปลูกที่มีส่วนผสมของดิน+ขุยมะพร้าว+แกลบดำ ทำให้ไมโครกรีน เบบี้คะน้ามีปริมาณเส้นใยมากที่สุด เท่ากับ 10.74 % FW ตามลำดับ กรมพัฒนาที่ดิน. 2564. ดิน นิยามและความหมาย. แหล่งที่มา: https://www.ldd.go.th/ofsweb/thaisoil/p2.htm. 23 มิถุนายน 2564. กรรณิกา บุญพาธรรม และ ดนุพล เกษไธสง. 2560. การประเมินผลผลิตและสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพในผักไมโครกรีน 13 ชนิด. แก่นเกษตร 45 (1พิเศษ): 368-373. กองโภชนาการ กรมอนามัย. 2561.7 ประโยชน์ของคะน้า ผักใบเขียว. แหล่งที่มา: http://fic.ifrpd.ku.ac.th/fic/index.php/2016-04-26-06-50-20/food-news-main-menu-3/fic-food-news-menu/620-food1-06-09-2018. 23 มิถุนายน 2564. เกษตรอินเทรนด์. 2560. การเพาะต้นอ่อนไมโครกรีนในเชิงการค้า. แหล่งที่มา: https://www.sentangsedtee.com/farming-trendy/article_2003. 23 มิถุนายน 2564. ครองใจ โสมรักษ์. 2560. ผลของปุ๋ยหมักกากครามต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของคะน้า. เกษตรพระวรุณ 14 (2): 165-172. ครองใจ โสมรักษ์. 2562. ผลและสีฝักและวัสดุปลูกต่อการงอก และการเจริญเติบโตของต้นกล้าครามฝักงอ. เกษตรพระวรุณ 16 (2): 375-376. ฆ้องชัย คงดี และ ยรรยงค์ อินทร์ม่วง. 2553. การเจริญเติบโตของผักคะน้า คุณสมบัติทางเคมีของดิน และแบคทีเรียชอบเค็มในดินเค็ม ที่ได้รับน้ำหมักชีวภาพต่างชนิดกัน. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม 29 (3): 266-273. เจนจิรา ชุมภูคำ สิริกาญจนา ตาแก้ว และ ณัฐพงค์ จันจุฬา. 2559. ผลของวัสดุปลูกต่อการงอกของเมล็ดการรอดชีวิตและการเจริญเติบโตของต้นกล้ามัลเบอร์รี่พันธุ์เวียดนาม GQ2. Thai Journal of Science and Technology 5 (3): 283-295. ชาตรี บำรุงชัย อรัญญา นามปัญญา และ นิธิภัทร บุญปก. 2562. ผลของวัสดุปลูกจากใบจามจุรีต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของแตงกวาญี่ปุ่นพันธุ์เพรตตี้สวอลโล 279 ภายใต้สภาพโรงเรือน, น.386-391. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และนวัตกรรม ครั้งที่1 (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อชุมชน). มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, เลย. ญาณี โปธาดี. 2555. การคัดเลือกพันธ์คะน้าและบล็อกโคลีเพื่อเพิ่มปริมาณสารซัลโฟราเฟส. วิทยานิพนธ์,ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ณัฐนิชา พิมพา 2561. พันธุ์ของคะน้า. แหล่งที่มา: https://sites.google.com/site/khwamsakhayphakkhana/phanthu-khxng-khana. 23 มิถุนายน 2564. ไทยเกษตรศาสตร์. 2012. การปลูกผักคะน้า. แหล่งที่มา: https://www.thaikasetsart.com/การปลูกผักคะน้า. 23 มิถุนายน 2564. ประยงค์ ธรรมสุภา. 2555. การศึกษาวัสดุปลูกที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของดาวเรือง. วิจัยและพัฒนา 7 (1): 26-31. พรชัย หาระโคตร ภาณุมาศ ฤทธิไชย และ สมพงษ์ ทะบันหาร. 2563. อิทธิพลของ ZnSO4 ต่อการเจริญเติบโตและสารต้านอนุมูลอิสระในไมโครกรีนผักขี้หูด ผักชีลาว และแมงลัก. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 28 (1): 86-98. เพ็ญนภา กาญจนมั่งศักดิ์ เวณิกา เบ็ญจพงษ์ นริศรา ม่วงศรีจันทร์ และวีรยา การพานิช. 2553. ปัจจัยที่ทำให้เกิดปัญหาการใช้สารป้องกันการจัดศัตรูพืชอย่างไม่เหมาะสมในการเพาะปลูกผักคะน้า. พิษวิทยาไทย 25 (2): 133 -143. โรงดินเจริญผล. 2018. แกลบดำและประโยชน์ของแกลบดำ. แหล่งที่มา: https://www.โรงดินเจริญผล.com/แกลบดำ/. 23 มิถุนายน 2564. ไร่ลุงท็อป. 2562A. ประวัติต้นอ่อนเบบี้คะน้า. แหล่งที่มา: https://www.railungtopfarmshop.com/category/44/เมล็ดพันธุ์เพาะงอก-microgreen/เมล็ดเบบี้คะน้า. 23 มิถุนายน 2564. _______. 2562B. วิธีการปลูกต้นอ่อนเบบี้คะน้า. แหล่งที่มา: https://www.railungtop.com/รายละเอียด/วิธีการปลูกต้นอ่อนเบบี้คะน้า. 18 พฤษภาคม 2564. วันวิสา กันยากอง และ โสระยา ร่วมรังษี. 2555. การเจริญเติบโตและผลของวัสดุปลูกต่อการผลิตแซนเดอร์โซเนียในประเทศไทย. เกษตร 28 (3): 229 – 236. วิเซ็น ดวงสา สายันต์ ตันพานิช เรวัตร จินดาเจี่ย และ มนตรี แก้วดวง. 2559. ผลของวัสดุปลูกต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักกูด. พืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 3 (พิเศษ): 30-35. ศรีสุนันท์ กิจภักดีกุล และ เยาวภา จิระเกียรติกุล. 2545. ผลของวัสดุปลูกที่มีต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของคะน้าในระบบการปลูกพืชไม้ใช้ดิน. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 10 (2): 45-53. สวัสดิ์ พิมพ์สุวรรณ. 2555. ผลของวัสดุปลูกชนิดต่าง ๆ ที่มีต่อการเจริญเติบโตของกาบหอยแครง. คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. สัญญา เล่ห์สิงห์ และ อรประภา อนุกูลประเสริฐ. 2559. ประสิทธิภาพของปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงต่อการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของคะน้า. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 24 (2): 320-332. สุนิสา ประไพตระกูล. 2551. คู่มือนักวิชาการการส่งเสริมการเกษตรพืชตระกูลกระหล่ำคะน้าและกวางตุ้ง.พิมพ์ครั้งที่ 1. กรมวิชาการเกษตร, กรุงเทพ. สุมิตรา สุปินราช, รัชณีพร ศรีวันชัย, และอิศร์ สุปินราช. 2559. ผลวัสดุปลูกต่อการเจริญเติบโตและการออกดอกของผีเสื้อ. พืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 3 (พิเศษ): 77-82. สุมิตรา สุปินราช และ อิศร์ สุปินราช. 2561. ผลของวัสดุปลูกต่อการเจริญเติบโตของผักกาดหอมกระถาง.วิทยาศาสตร์เกษตร 49 (1พิเศษ): 47-52. เสน่จิต กิตตินานนท์. 2560. ผลของวัสดุปลูกเพาะกล้าที่มีต่อการงอกและผลผลิตของทานตะวัน. วิชาการสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตร 1 (2): 21-25. ออลล์เกษตร. 2562. โรคและแมลงศัตรูพืชของคะน้า. แหล่งที่มา: https://www.allkaset.com/contents/โรคและแมลงศัตรูพืชคะน้า-81.php. 23 มิถุนายน 2564. อุดมลักษณ์ มัจฉาชีพสิริวรรณ สุขนิคม จันทร์เพ็ญ บุตรใส พาขวัญ ทองรักษ์ อรุณีชัยศรี อัจฉรียา มณีน้อย สุรชัย มัจฉาชีพ สมเจตน์ เจริญศรีสัมพันธ์. 2557. การศึกษาการผลิตไมโคร กรีนพืชพื้นบ้านเพื่อการค้าในสภาพโรงเรือน. คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ. Food Network Solution.2021. Dietary fiber / เส้นใยอาหาร.แหล่งที่มา: http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/1102/dietary-fiber. 8 กรกฎาคม 2564. Hydroponichy. 2556. เทคนิกวัสดุปลูก. แหล่งที่มา: https://sites.google.com/site/hydroponichy2556/substrate-culture. 23 มิถุนายน 2564. International Seed Testing Association (ISTA). 2013. International Rules for Seed Testing. Edition 2003 International Seed Testing Association, Bassersdorf. Kasettoday. 2021. ขุยมะพร้าว คืออะไร ประโยชน์และการนำไปใช้. แหล่งที่มา: https://kaset.today/ขุยมะพร้าว/. 23 มิถุนายน 2564. Palmitessa O.D., Renna M., Crupi P., Lovece A., Corbo F. and Santamaria P. 2020. Yield and Quality Characteristics of Brassica Microgreens as Affected by the NH4:NO3 Molar Ratio and Strength of the Nutrient Solution. Foods 9 (677): 1-17. Paolo. 2563. FIBER ลดอัตราเสี่ยงการเป็นโรคหัวใจ ดีต่อลำไส้. แหล่งที่มา: https://www.paolohospital.com/th-TH/phahol/Article/Details/Food-exercise/Fiber-ลดอัตราเสี่ยงการเป็นโรคหัวใจ-ดีต่อลำไส้. 23 มิถุนายน 2564. Puechkaset. 2014. ผักคะน้าและการปลูกคะน้า. แหล่งที่มา: https://puechkaset.com/ผักคะน้า/. 23 มิถุนายน 2564. Rattikarn. 2014. การงอกของเมล็ด. แหล่งที่มา: https://Rattikarn02648.wordpress.com/2014/12/10/การงอกของเมล็ด/. Senevirathne, G. I., Gama-Arachchige, N. S. and Karunaratne, A. M. 2019. Germination, harvesting stage, antioxidant activity and consumer acceptance of ten microgreens. Ceylon Journal of Science 48 (1): 91-96. Sutus. 2021. การวัดความหวานในอาหาร ผัก ผลไม้ด้วยเครื่องวัด Brix. แหล่งที่มา: https://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?bookID=5034&pageid=1&read=true&count=true. 23 มิถุนายน 2564. Turner, E. R., Luo, Y. and Buchanan, R. L. 2020. Microgreen nutrition, food safety, and shelf life: A review. Journal of Food Science 85 (4): 870-882. Weber, C. F. 2017. Broccoli Microgreens: A Mineral-Rich Crop That Can Diversify Food Systems. Frontiers in Nutrition 4 (7): 1-9. |